Page 45 - Report_Edit_v7
P. 45

ครั้งละหลาย ๆ เรื่อง แต่ในปัจจุบันเริ่มมีการให้เงินลงทุนจากนักลงทุน ตัวอย่างเช่นในการสร้าง

                       ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง 9 ศาสตรา ที่มีนักลงทุนลงทุนให้กับสตูดิโอในการผลิตงานแอนิเมชัน โดย

                       แลกกับการถือสิทธิในภาพยนตร์

                              ปัจจุบันในเรื่องของเงินลงทุนยังพบว่าเป็นปัญหาของผู้ประกอบการเนื่องจากผู้ประกอบการ

                       ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนจากช่องทางปกติได้เนื่องจากสถาบันการเงินยังขาดความเข้าใจในการ

                       ด าเนินการของผู้ประกอบการท าให้ผู้ประกอบการต้องหาเงินทุนจากช่องทางอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น

                       กองทุนส าหรับแอนิเมชันในต่างประเทศหรือการประกอบการในลักษณะผู้รับจ้างผลิตแทนการเป็น

                       เจ้าของกรรมสิทธิ์


                              เมื่อผู้ประกอบการผลิตแอนิเมชันออกมาและน าไปจ าหน่ายผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น ช่อง
                       โทรทัศน์ทั่วไป ช่องโทรทัศน์บอกรับสมาชิก โรงภาพยนตร์ โทรทัศน์ผ่านอินเตอร์เน็ต การขายใน

                       รูปแบบซีดี ดีวีดีเป็นต้น โดยแต่ละช่องทางก็จะมีผู้ประกอบการเป็นผู้ด าเนินการและแบ่งปัน

                       ผลประโยชน์ โดยผู้ประกอบการช่องทางต้องการคอนเทนต์เพื่อให้ช่องทางของตนมีผู้ชมในปริมาณที่

                       มากพอ เมื่อมีผู้ชมก็จะขายโฆษณาหรือจ าเก็บรายได้ด้วยวิธีการอื่น ๆ ซึ่งองค์ประกอบของระบบนิเวศ

                       ในล าดับถัดมาคือผู้บริโภค โดยผู้บริโภคถือเป็นจุดสิ้นสุดของระบบนิเวศและเป็นองค์ประกอบที่มี

                       ความส าคัญและส่งผลต่อมูลค่าของแอนิเมชัน โดยในปัจจุบันพฤติกรรมของผู้บริโภคในประเทศไทยได้
                       เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อันเป็นผลมาจากเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ตัวอย่างเช่น ในปัจจุบันการซื้อ ซีดี ดี

                       วีดี มีปริมาณที่ลดลง เนื่องจากผู้บริโภคสามารถดูคอนเทนต์เดียวกันผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตได้เนื่องมี

                       ราคาถูก เข้าถึงง่าย และไม่ต้องมีสถานที่จัดเก็บ ช่องทางโทรทัศน์ได้รับความนิยมน้อยลงเนื่องจาก

                       ผู้บริโภคต้องการดูเฉพาะคอนเทนต์ที่ตัวเองสนใจเท่านั้น


                              นอกจากพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปแล้ว ยังพบว่าตลาดในประเทศไทยเป็นตลาดที่ค่อนข้างเล็ก
                       ท าให้แอนิเมชันที่สร้างออกมาแม้จะมีความน่าสนใจ มีการท าการตลาดอย่างดี แต่ก็อาจไม่ประสบ

                       ผลส าเร็จในการสร้างรายได้ ท าให้หลายครั้งที่มีการสร้างแอนิเมชันออกมา แม้จะท าได้ดีแต่รายได้ก็ไม่

                       คุ้มทุนท าให้ผู้ประกอบการแอนิเมชัน และผู้ประกอบการช่องทางจัดจ าหน่ายไม่กล้าลงทุนในการผลิต

                       หรือจ าหน่ายแอนิเมชันมากนัก อย่างไรก็ดีในปัจจุบันเราจะเริ่มเห็นการปรับตัวของผู้ประกอบการ

                       แอนิเมชันที่มีการปรับปรุงในแง่เนื้อหาและคุณภาพโดยมุ่งหวังที่จะน าแอนิเมชันไปขายในระดับ

                       นานาชาติแทนที่จะพึ่งพาตลาดในประเทศแต่เพียงอย่างเดียว

                              ด้วยระบบนิเวศในลักษณะนี้จึงส่งผลให้ในประเทศไทย ผู้ประกอบการแอนิเมชันโดยส่วนมาก

                       ด าเนินการในรูปแบบการรับจ้างผลิตเป็นหลัก รองลงมาผู้จัดจ าหน่าย/ผู้น าเข้า/ผู้ซื้อลิขสิทธิ์ และ

                       เจ้าของกรรมสิทธิ์ เป็นล าดับสุดท้าย โดยภาพรวมแล้วผู้ประกอบการแอนิเมชันในประเทศไทยได้รับ


                                                            45
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50