Page 7 - Report_Edit_v7
P. 7
ตารางที่ 2 มูลค่าอุตสาหกรรมจ าแนกตามลักษณะธุรกิจ
มูลค่า (ล้านบาท)
อุตสาหกรรมแอนิเมชัน อุตสาหกรรมคาแรคเตอร์ อุตสาหกรรมเกม
ประเภทธุรกิจ
2559 2560 2559 2560 2559 2560
ผู้ผลิตที่มีทรัพย์สินทางปัญญาเป็นของ
ตนเอง 80.3 85.7 90.9 78.0 344.8 328.6
อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 7 -14 -5
ผู้รับจ้างผลิต 1,870.9 2,045.7 40.7 86.9 254.8 257.8
อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 9 114 1
ผู้จัดจ าหน่าย ผู้น าเข้า และผู้ดูแลลิขสิทธิ์ 2,014.1 1,667.3 1,555.5 1,794.7 15,729.0 18,694.6
อัตราการเติบโต (ร้อยละ) -17 15 19
รวม 3,965.3 3,798.7 1,687.1 1,959.6 18887.6 19,281.0
ที่มา: คณะผู้วิจัย บริษัท ไอดีซี รีเสิร์ช (ไทยแลนด์) จ ากัด
เมื่อพิจารณาปัจจัยด้านการเติบโตจ าแนกตามอุตสาหกรรมพบว่า อุตสาหกรรมแอนิเมชันและ
คาแรคเตอร์ ถูกขับเคลื่อนด้วยธุรกิจประเภทการรับจ้างผลิต โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 9.35 และ
114.00 ตามล าดับ เนื่องจากผู้ประกอบการให้ความสนใจกับการรับจ้างผลิตงานที่เป็นลักษณะงานระยะสั้นแต่
ได้รับรายได้ที่คุ้มค่ามากขึ้น ในขณะที่อุตสาหกรรมเกมเป็นอุตสาหกรรมเดียวที่ถูกขับเคลื่อนโดยธุรกิจประเภท
ผู้จัดจ าหน่าย ผู้น าเข้า และ ผู้ดูแลลิขสิทธิ์ โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 18.85 ซึ่งเป็นผลมาจาก
การพัฒนาของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง และพฤติกรรมการเล่มเกมของผู้บริโภคที่เป็นส่วนในการขับเคลื่อนการ
น าเข้าเกมจากต่างประเทศมาจัดจ าหน่าย
คาดการณ์อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ปี 2561 – 2562
จากการส ารวจมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ในปี 2560 พบว่า ในภาพรวมมีมูลค่า 25,040 ล้าน
บาท เมื่อจ าแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมเกมมีมูลค่าสูงที่สุด รองลงมาคืออุตสาหกรรม
แอนิเมชัน และ อุตสาหกรรมคาแรคเตอร์ ตามล าดับ โดยอุตสาหกรรมเกมมีมูลค่า 19,281 ล้านบาท
7