Page 184 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 184

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                  คุณสมบัติและสิ่งอ านวยความสะดวกที่จะถูกรวมเข้าไปในตัวหุ่นยนต์จากหลากหลายผู้ผลิต ซึ่งในปัจจุบันมีหุ่นยนต์

                  อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ที่มีความสามารถหลากหลาย ทั้งคุณสมบัติ สิ่งอ านวยความสะดวก รวมถึงรูปแบบของ
                  หุ่นยนต์ที่มีอยู่ในกระบวนการการผลิต โดยปัจจุบันนั้นในด้านการออกแบบระบบการผลิต และต้นทุนที่เกี่ยวข้อง

                  เป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ส่งผลโดยตรงต่อการตัดสินใจเลือกประเภทของหุ่นยนต์ ผู้ซื้อจะต้องระบุและ
                  เลือกหุ่นยนต์ที่มีความเหมาะสมที่สุด เพื่อที่จะให้บรรลุผลที่ต้องการด้วยต้นทุนที่ต่ าที่สุดและได้ความสามารถในการ

                  ใช้งานที่เหมาะสม บทความนี้จึงมีความพยามที่จะแก้ปัญหาการเลือกหุ่นยนต์เหล่านี้ โดยใช้สองวิธีการที่เหมาะสม
                  ที่สุดคือ การคัดเลือกแบบหลายเกณฑ์ multi-criteria decision making method (MCDM) และการเปรียบเทียบ

                  ประสิทธิภาพความสัมพันธ์ที่จะมีผลต่อการน าไปใช้ประโยชน์ โดยวิธีการแรกคือ Multicriteria Compromise

                  Ranking กล่าวคือวิธีการจัดอันดับที่เหมาะสม และอีกวิธีหนึ่งคือการคัดเลือกและการใช้งานตามความเป็นจริง
                  กล่าวคือการน าวิธีการเรียงล าดับจากการก าหนดความส าคัญมาใช้ เพื่อพิจารณาความต้องการของแต่ละทางเลือก

                  จากการใช้งานจริงนั้น ทั้งสองวิธีนี้สามารถน าไปประยุกต์ใช้ เพื่อคัดเลือกหุ่นยนต์ในการใช้งาน และเพิ่มศักยภาพใน

                  การผลิตได้ ซึ่งสังเกตว่าการจัดอันดับความสัมพันธ์ของหุ่นยนต์ที่ได้จากสองวิธีนี้ตรงกับผลงานของนักวิจัยที่ผ่านมา
                  เป็นจ านวนมากในปัจจุบัน

                                        ความส าคัญของการคัดเลือกหุ่นยนต์เชื่อมโยงกับการคัดเลือกพื้นที่ตั้งอุตสาหกรรมใน

                  ส่วนของการบริหารจัดการ การบ ารุงรักษา การอัพเดทฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ของหุ่นยนต์และสายการผลิตใน
                  ภาคอุตสาหกรรม ฉะนั้นหากตั้งโรงงานอุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์และบริษัทที่รับผิดชอบการวางแผนออกแบบ

                  ระบบจัดการหุ่นยนต์ที่อยู่ใกล้โรงงานผู้ใช้ ก็จะมีศักยภาพในการเข้าถึงแหล่งตลาดผู้บริโภคได้มากกว่าโรงงานที่
                  ตั้งอยู่ไกลกลุ่มผู้บริโภค ในงานวิจัยนี้จึงพิจารณา ต าแหน่งที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมในกลุ่มหุ่นยนต์เดิมและ

                  โรงงานอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มีโอกาสเป็นกลุ่มผู้บริโภคในการพิจารณาเลือกที่ตั้งที่มีศักยภาพในการแข่งขันด้วย


                                        3.2) An interval 2-tuple linguistic MCDM method for robot evaluation

                  and selection (|Liu, H.-C., Ren, M.-L., Wu, J., & Lin, Q.-L. [2014]. An interval 2-tuple linguistic MCDM
                  method for robot evaluation and selection. International Journal of Production Research, 52(10),

                  2867-2880. doi:10.1080/00207543.2013.854939)

                                        บทความนี้กล่าวถึงการเลือกหุ่นยนต์ที่ดีที่สุดในปัจจุบันกลายเป็นงานที่ท้าทายส าหรับ
                  ผู้ผลิตที่มีการเพิ่มขึ้นของความต้องการในการผลิตและความพร้อมใช้งานของหุ่นยนต์ที่แตกต่างกันมากขึ้น การ

                  เลือกหุ่นยนต์ส าหรับการประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ อาจถือได้ว่าเป็นปัญหาการตัดสินใจหลาย

                  ประเด็นที่ซับซ้อน ซึ่งต้องอาศัยการพิจารณาถึงหุ่นยนต์ทางเลือกหลายตัว และด้วยปัญหาการบ ารุงรักษาที่ต้องใช้
                  บริษัทที่พัฒนาระบบ (System Indicators) เข้ามาดูแลตลอด ที่ท าให้สิ้นเปลืองทั้งงบประมาณและเวลา ท าให้มี

                  ความพยายามที่จะพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถสื่อสารภายใต้ภาษาและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สมบูรณ์ได้ นอกจากนี้ผู้มี

                  อ านาจตัดสินใจมีแนวโน้มที่จะใช้ชุดค าศัพท์ภาษาศาสตร์หลายภาษาเพื่อแสดงการประเมินในเกณฑ์อัตนัยและมักมี



                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                             หน้า 5 - 15
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189