Page 183 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 183
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
ในการปลูกอ้อย 5 ระดับ เพื่อเสนอแนะพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงานน้ าตาลเพิ่มเติม ทั้งนี้ผลการศึกษาพบว่า
พื้นที่ลุ่มแม่น้ ากลองมีกลุ่มชุดดินที่ใช้ในการปลูกอ้อยทั้งหมด 15 กลุ่มชุดดิน โดยการใช้ประโยชน์ที่ดินสามารถ
จ าแนกได้เป็น 8 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่นาข้าว พื้นที่ปลูกอ้อย พื้นที่ปลูกผลไม้ พื้นที่
เกษตรกรรมอื่นๆ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่แหล่งน้ า และพื้นที่อื่นๆ ในการประเมินความเหมาะสมของดินที่ปลูกอ้อย พบว่า
ชุดดินที่มีความเหมาะสมในการปลูกอ้อยได้ดีที่สุดคือ ชุดดินก าแพงแสน และชุดดินท่าม่วง โดยชุดดินที่ไม่เหมาะสม
ในการปลูกอ้อยได้แก่ ชุดดินน้ าพอง และกลุ่มดินนา โดยการประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ตั้งโรงงาน
อุตสาหกรรมน้ าตาล มีแนวทางการพิจารณา 2 แนวทางคือ 1) ถ้ามีการปลูกอ้อยในพื้นที่ที่ระดับความเหมาะสมที่ 1
จะมีผลผลิตอ้อยเท่ากับ 3,573,440 ตันต่อปี โดยทั้งนี้ควรสร้างโรงงานรองรับบริเวณบ้างโซ่ง บ้านรางโพธิ์ บ้านเขา
รักษ์ และบ้านท่าช้าง เขตติดต่อระหว่างอ าเภออู่ทอง และอ าเภอพนมทวน และบริเวณบ้านหนองวันเปรียง บ้าน
ตลาดเด่นขาม รอยต่อระหว่างอ าเภอสองพี่น้อง และอ าเภอก าแพงแสน และถ้าปลูกอ้อยในพื้นที่ที่มีระดับความ
เหมาะสมที่ 1 รวมกับพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมที่ 2 จะมีผลผลิตอ้อยเท่ากับ 5,985,833 ตันต่อปี โดยควรที่จะ
สร้างโรงงานอุตสาหกรรมรองรับในบริเวณที่ 1 และบริเวณที่ 2 และเพิ่มเติมในพื้นที่บริเวณบ้านหนองวัว บ้านสระ
โรงเรือ เขตติดต่อระหว่างอ าเภออู่หลง และอ าเภอบ่อพลอย
ทั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส าคัญในเลือกที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมในหลาย
ประเภท โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวของกับเกษตรกรรมนั้น มีความจ าเป็นต้องอยู่ใกล้เคียงกับ
แหล่งวัตถุดิบ รวมถึงความสะดวกสบายในการเดินทางคมนาคมขนส่งสินค้า และตลาดด้วยเช่นกัน โดยทั้งการที่
โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ใกล้เคียงกับแหล่งวัตถุดิบแล้วนั้น ยังส่งผลต่อปริมาณในการผลิตสินค้าที่เพิ่มขึ้นในโรงงาน
อุตสาหกรรมด้วย เช่นเดียวกับการศึกษาโครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
ของอุตสาหกรรม
3) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
โดยบทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรมจะ
ประกอบไปด้วยหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การการพัฒนาและการผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ รวมทั้งการศึกษาความ
เป็นไปของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรมในประเทศไทยอีกด้วย
3.1) Selection of industrial robots using compromise ranking method
(Athawale, V. M., Chatterjee, P., & Chakraborty, S. [2012]. Selection of industrial robots using
compromise ranking method. International Journal of Industrial and Systems Engineering, 11(1-
2), 3-15. doi:10.1504/IJISE.2012.046651)
บทความนี้กล่าวถึงการเลือกหุ่นยนต์ส าหรับใช้ในอุตสาหกรรมที่เฉพาะเจาะจงนั้นเป็น
หนึ่งในปัญหาที่ท้าทายที่สุดในขณะนี้ มันได้กลายเป็นความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นในด้านของ
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 5 - 14