Page 250 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 250
“ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
่
มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน
ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย
14 ํ 02’ N
กาญจนบุรี 100 ํ11’ E
เมืองกําแพงแสน
(18-2)
แม่นํ้าแม่กลอง
เขาช่องด่าน
เมืองโกสินารายณ์
(48-2)
จ.นครปฐม
คู
(48-4) เมืองนครชัยศรี
(18-1)
เขาหลวง เขาเขียว
ดอนยายหอม
เมืองคูบัว เมืองราชบุรี (18-3)
เมืองในจารึกปราสาทพระขรรค์ เมืองราชบุรี
บริเวณลุ่มน�้าแม่กลอง เขาสม เขากุลา (48-1)
จ.ราชบุรี
บางศรีเพชร (45-8)
เกาะศาลพระ (48-6)
เมืองโบราณที่ “เมืองคูบัว” และที่ “เมืองราชบุรี” มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ เมืองคูบัว
เป็นหลักฐานส�าคัญบอกเรื่องราวการตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มน�้าแม่กลองเมื่อครั้งยังเป็น เขาบัวทองใน (48-3)
ชายฝั่งชะวากทะเลอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดินในสมัยทวารวดี-ฟูนัน พบหลักฐานแนวทางน�้า จ.สมุทรสงคราม
แม่กลองสายเก่า (คลองแควอ้อม) ไหลออกชะวากทะเลที่บริเวณคลองวัดประดู่
อ�าเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนแปลงถอยห่างออกมาเป็นแนว อ่าวไทย
ชายฝั่งทะเลปัจจุบันมีปากน�้าอยู่ที่เมืองสมุทรสงคราม มีการอยู่อาศัยนับแต่ยุค สระพัง
ก่อนประวัติศาสตร์และเจริญเป็นเมืองคูคลอง และสร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ (37-2)
ภายหลังชายฝั่งทะเลถอยห่างออกไปมีเส้นทางน�้าต่อไปถึงทะเลตามแนวทางน�้าแม่กลอง เขากระทิง
ปัจจุบัน และพบว่าแนวแม่น�้าจากต�าแหน่งที่แม่น�้าแม่กลองสายเก่าและปัจจุบันมาบรรจบ จ.เพชรบุรี เพชรบุรี N
เขาสมุนแวง
กัน มีลักษณะเป็นแนวตรงตัดแม่น�้าแม่กลองเก่าที่บ้านบางกุ้ง ต�าบลบางกุ้ง อ�าเภอบางคนที 13 ํ 01’ N (37-1)
จังหวัดสมุทรสงคราม แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเส้นทางน�้าแม่น�้าแม่กลอง 99 ํ 28’ E เขาเนินเขมร 10 km.
อย่างกะทันหันบ่งบอกถึงอุบัติภัยท�าให้แม่น�้าเปลี่ยนทางเดิน หรือเป็นการขุดคลอง เมืองราชบุรี(1) - เมืองคูบัว(2) 13 ํ 34’ N
ขึ้นใหม่ให้สะดวกในการคมนาคม ธรณีสัณฐานเหล่านี้ยังเป็นประเด็นที่ต้องศึกษา 99 ํ 52’ E
กันต่อไป
บริเวณที่ราบลุ่มน�้าแม่กลองเป็นที่อุดมสมบูรณ์ และอยู่บนเส้นทางข้ามคาบสมุทร
ระหว่างอ่าวไทยและทะเลอันดามัน โดยมีแควน้อยเป็นเส้นทางหลัก ล้วนเป็นปัจจัยให้เกิด เมืองราชบุรี
การตั้งถิ่นฐานพัฒนาเป็นบ้านเมือง มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบหลายแห่ง โดยเฉพาะ 1
เมือง “โบราณที่บ้านคูบัว” และที่ “เมืองราชบุรี” แสดงให้เห็นพัฒนาการการตั้งถิ่นฐาน
ในอดีตก่อนการบันทึกทางประวัติศาสตร์ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน โดยสอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่มีภูมิลักษณ์เป็นชะวากทะเลของอ่าวไทยในอดีต
“เมืองคูบัว” สร้างขึ้นก่อน “เมืองราชบุรี” มีลักษณะเป็นเมืองคูคลองในที่ราบลุ่ม แม่นํ้าแม่กลอง
ใกล้ชายฝั่งชะวากทะเลฝั่งตะวันตกของแม่น�้าแม่กลองเก่า (คลองแควอ้อม) ต่อมาสร้าง
ก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบบนเนินรูปเหลี่ยมมุมมนเพื่อยกระดับน�้าและสัมพันธ์กับ
คูคลอง ภายหลังเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลถอยห่างแม่น�้าแม่กลองเปลี่ยน
ทางเดินไม่สะดวกที่จะออกสู่ทะเล ได้มีการขุดคลองเชื่อมต่อกับแม่น�้าสายใหม่และ
สร้างเมืองราชบุรีขึ้นบนฝั่งแม่น�้าสายใหม่เป็นทางออกทะเลได้สะดวก คลองอู่เรือ
“เมืองราชบุรี” สร้างขึ้นภายหลังก�าแพงเมือง-คูเมืองเป็นแนวตรงมุมเหลี่ยมรูป บางศรีเพชร
สี่เหลี่ยมผืนผ้าคล้ายเมืองเดิมที่คูบัว มีชื่อปรากฏในจารึกสุโขทัยว่า “ราชบุรี” และในจารึก
ปราสาทพระขรรค์ว่า “ชยราชปุระ” คลองแครอ้อม
2 เกาะศาลพระ
เกาะศาลพระ
N
เมืองคูบัว
13 ํ 27’ N
99 ํ 47’ E 1 km.
236 236 l