Page 252 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 252
ปราสาทเมืองสิงห์ 101 ํ 14’ E
14 ํ 02’ N
บนเส้นทางสู่ทะเลอันดามันผ่านด่านบ้องตี้
และเจดีย์สามองค์ เมาะตะมะ
ปราสาทเมืองสิงห์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ มีก�าแพงเมือง-คูเมือง
ล้อมรอบ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองบ้านท่ากิเลน หมู่ที่ ๑ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอไทรโยค
จังหวัดกาญจนบุรี บนฝั่งตะวันออกของแม่น�้าแควน้อย ซึ่งมีต้นน�้าอยู่ที่ด่านเจดีย์
สามองค์ห่างไปทางทิศเหนือของเมืองสิงห์ ๑๗๗ กิโลเมตร ไหลไปบรรจบกับแม่น�้า ด่านเจดีย์สามองค์
แควใหญ่ เป็นแม่น�้าแม่กลอง ณ บริเวณที่ตั้งเมืองกาญจนบุรี ห่างจากเมืองสิงห์
ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ๔๔ กิโลเมตร ล�าน�้าแม่กลองไหลผ่านเมือง แม่นํ้าแควใหญ่
โกสินารายณ์ อ�าเภอบ้านโป่ง และเมืองราชบุรี ออกสู่ทะเลที่ตัวเมืองสมุทรสงคราม
ปราสาทเมืองสิงห์เป็นโบราณสถานนิกายมหายานตามแบบศิลปะขอมสมัยบายน แม่นํ้าแควน้อย
สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกปราสาทพระขรรค์
ของกัมพูชา จารึกโดยพระวีรกุมารโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ กล่าวถึง “เมืองศรี
ชัยสิงหบุรี” ซึ่งนักโบราณคดีสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองสิงห์ สนับสนุนด้วยหลักฐาน ทะวาย ด่านบ้องตี้ กาญจนบุรี
เห็นได้ในภาพ อาคารปราสาทเมืองสิงห์สร้างบนเนินที่เป็นแนวก�าแพงเมือง-คูเมือง ปราสาทเมืองสิงห์ นครปฐม
ที่มีมาก่อน และสร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองขึ้นใหม่ซ้อนทับ และขยายขนาดใหญ่กว่า ราชบุรี เพชรบุรี
เมืองเก่าโดยมีปราสาทเมืองสิงห์ตั้งเป็นศูนย์กลางเมืองใหม่ ฝั่งตะวันตกตรงข้าม อันดามัน
แม่น�้าแควที่ตั้งเมืองสิงห์ มีห้วยแม่กระบาลไหลจากทิวเขาตะนาวศรีลงสู่แม่น�้า อ่าวไทย
แควน้อย เป็นเส้นทางสะดวกในการเดินทางผ่านไปยังฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งมี N
๒ เส้นทาง คือผ่านด่านบ้องตี้ไปยังเมืองทะวาย และตามแม่น�้าแควน้อยผ่านอ�าเภอ 12 ํ 12’ N
ไทรโยค อ�าเภอสังขละบุรี ด่านเจดีย์สามองค์ไปยังเมืองเมาะตะมะ แสดงให้เห็นถึง 97 ํ 17’ E 20 km.
ความส�าคัญของแหล่งที่ตั้งเมืองสิงห์ซึ่งมิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ หากแต่เป็นภูมิปัญญา
การสร้างบ้านแปงเมืองในอดีตที่เลือกสร้างขึ้น ณ ต�าแหน่งที่สะดวกในการคมนาคม
จากอ่าวไทยผ่านไปยังทะเลอันดามันได้ทั้งสองทางและเป็นหลักฐานยืนยันว่าเส้นทาง ปราสาทเมืองสิงห์
จากอ่าวไทยสู่ทะเลอันดามันแห่งนี้ เป็นที่รู้จักมายาวนานก่อนราชวงศ์วรมันแห่ง บนเส้นทางสู่ทะเลอันดามัน ผ่านด่านบ้องตี้และเจดีย์สามองค์
ลุ่มน�้าโตนเลสาบมีอ�านาจเหนืออาณาบริเวณลุ่มเจ้าพระยา และส�าคัญถึงปัจจุบัน
ดังเห็นได้จากทางรถไฟสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ และโครงการท่าเรือทะวายของพม่า
ปราสาทเมืองสิงห์
ปราสาทเมืองสิงห์
ห้วยแม่กระบาล เมืองโป๊ะ
เขาช่องประตู
N
แม่น�้าแม่กลอง
13 ํ 59’ N
99 ํ 10’ E 1.5 km.
238 238 l