Page 294 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 294
ลุ่มเจ้าพระยาสู่ลุ่มโตนเลสาบ
“ฝั่งทะเลอ่าวไทยตะวันออก” ในส่วนที่ราบตอนบน ตั้งอยู่ระหว่างบริเวณชายฝั่งทะเล rom the Chao Phraya alluvial
เป็นส่วนที่ราบตอนใต้ และทิวเขาขอบที่ราบสูงโคราช เป็นที่ราบเชื่อมระหว่าง “ลุ่มเจ้าพระยา” plain to Tonle Sap
ทางตะวันตกและ “ลุ่มโตนเลสาบ” ทางตะวันออก มีสันปันน�้าในเขตประเทศไทยแบ่งระหว่าง
ลุ่มน�้าปราจีนบุรีไหลลงแม่น�้าบางปะกงและลุ่มน�้าสระแก้ว มีทางน�้าหลายสายไหลลงลุ่มโตนเลสาบ There was a watershed on the Thai side that separated
มีการตั้งถิ่นฐานพัฒนาเป็นบ้านเมืองแต่ครั้งที่ราบเจ้าพระยายังเป็นชวากทะเลมีอ่าวเว้าลึกเข้ามา the Prachinburi alluvial plain from Sa Kaeo’s on the
upper plain of the “East of the Gulf of Thailand”,
ในแผ่นดิน ยาวตลอดแนวชายฝั่งชวากทะเลสมัยทวารวดี-ฟูนัน และตามเส้นทางคมนาคม which joined the western “Chao Phraya alluvial deposits”
สู่ลุ่มโตนเลสาบ โดยเฉพาะที่บริเวณทางแยกที่เป็นเส้นทางผ่านช่องเขาเข้าถึงบริเวณที่ราบสูงโคราช and eastern “Tonle Sap’s”. At this place, there were traces
of settlers migrating down from the Chao Phraya
ทางทิศเหนือ และทางแยกไปออกฝั่งทะเลทางทิศใต้ ร่องรอยการตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ก�าแพงเมือง- alluvial plain. Image from the satellite showed these traces
คูเมือง สระน�้า บาราย ตลอดจนคูคลองชลประทาน แสดงให้เห็นในภาพดาวเทียม ก�าแพงเมือง- consisting of city walls and moats with round-edged
คูเมืองเกือบทั้งหมดมีรูปแบบเป็นแนวโค้งมุมมนตามสมัยนิยมทวารวดี-ฟูนัน และพบหลักฐาน curves - the Funan - Dvaravati Period. In addition,
การอยู่อาศัยในสมัยหลัง โดยยังบอกไม่ได้ถึงรายละเอียดของการตั้งถิ่นฐานได้ทั้งหมดจนกว่าจะมี settlements were found in the later periods with evidence
การศึกษาและส�ารวจทางโบราณคดีมากขึ้นในอนาคต such as ponds, baray and irrigation moats and canals.
14 ํ 29’ N
103 ํ 58’ E
นครนายก
ปราจีนบุรี
แม่นํ้า
ปราจีนบุรี
สระแก้ว
หนองหอย
ฉะเชิงเทรา คูเมือง อ.เมืองฯ จ.สระแก้ว
อ.พนมสำรคำม จ.ฉะเชิงเทรำ
แม่นํ้า บางปะกง ศรีโสภณ
คูเมือง
อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
ชลบุรี
คูเมือง
อ.บ่อทอง จ.ชลบุรี
พระตะบอง
แม่นํ้าประแสร์
ระยอง จันทบุรี
แม่นํ้าตราด
ตราด
อ่าวไทย
11 ํ 32’ N
100 ํ 37’ E
280 280 l