Page 338 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 338
“ชัยบุรี”...เมืองภูเขาและ
ท่าเรือออกทะเลสาบ
“เมืองชัยบุรี” ตั้งอยู่ในบริเวณที่หัวเขาเมือง
(เขาชัยบุรี) ด้านทิศเหนือของกลุ่มภูเขาหินปูน ส่วน
“เมืองพัทลุง” อยู่ที่บริเวณเชิงเขาคูหาสวรรค์ด้านทิศใต้
สุดของกลุ่มภูเขาหินปูนระยะทางห่างจากเมืองชัยบุรี
ประมาณ ๘.๕ กิโลเมตร ตั้งอยู่บนเส้นทางข้ามคาบสมุทร
ทะเลสาบสงขลา-ปะเหลียน และมีเมืองโบราณบ้าน
“ควนแร่” ห่างจากเมืองพัทลุงไปทางทิศตะวันออกซึ่งมี
คลองผ่านไปออกทะเลสาบสงขลาที่ปากคลองล�าป�า
เขาบ่อลา
เขาพลู
เดอ ลามาร์ 1687 (พ.ศ. ๒๒๓๐) เขาชัยบุรี
เส้นทางข้ามคาบสมุทรผ่านช่องเขาหลวงออกสู่
ทะเลอันดามันที่เมืองปะเหลียนในเขตจังหวัดตรังสามารถ
เริ่มต้นจากทะเลสาบได้หลายทาง ทั้งจากบ้านควนแร่ N
ผ่านที่ตั้งเมืองพัทลุง และจากเมืองชัยบุรีซึ่งมีเส้นทางออก
สู่ทะเลสาบและติดต่อถึงเมืองนครศรีธรรมราชทาง 07 ํ 40’ N 200 m.
ทิศเหนือ มีความส�าคัญทางประวัติศาสตร์สัมพันธ์กับ 100 ํ 02’ E
นครศรีธรรมราชและเชื่อมโยงกับบริเวณลุ่มทะเลสาบ มีความแตกต่างไปจากก�าแพงเมือง-คูเมืองตามที่พบเห็นโดยทั่วไป เป็นลักษณะคล้ายก�าแพงเมือง-คูเมือง
สงขลา เป็นเมืองที่มีความอุดมสมบูรณ์มีพื้นที่ราบท�านา ที่หัวเขาแดงสร้างขึ้นใช้ประโยชน์ในการป้องกัน โดยสร้างก�าแพงมีป้อมเชื่อมเขาบ่อลาด้านตะวันตก เขาวัดด้านเหนือ
และการชลประทานกว้างขวาง มีประวัติร่วมกันกับ เขาพลูด้านตะวันออก และเขาชัยบุรีด้านใต้ เพื่อล้อมรอบบริเวณและใช้ภูเขาเป็นแนวป้องกันตามธรรมชาติ
นามเมืองพัทลุงและนครศรีธรรมราชที่มีเรื่องราวใน มีทางน�้าได้แก่คลองเมือง และคลองห้วยหรั่ง ไหลมาบรรจบกันกลางเมือง ซึ่งเรียกว่า “ในตึกหรืออู่เรือ” ยาวต่อไป
ประวัติศาสตร์มาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๒ ตลอดเรื่อย ทางด้านตะวันออกของเมือง ผ่านบ้านคอกวัวออกสู่ทะเลสาบสงขลา และมีคลองยาวเป็นเส้นตรงไปทางทิศใต้
มาจนถึงสมัยอยุธยา และได้ลดระดับความส�าคัญลงเมื่อ ถึงเมืองพัทลุง เชื่อมต่อกับคลองออกสู่ทะเลสาบที่ “ล�าป�า”
ความนิยมใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรเลื่อนลงไปทางทิศใต้ โบราณวัตถุที่พบแสดงถึงการตั้งถิ่นฐานมีมาแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เชื่อว่ามีการตั้งถิ่นฐานบนเส้นทาง
ตามท่าเรือใหม่ที่เจริญขึ้นภายหลัง แผนที่เมืองชัยบุรี น�้าธรรมชาติที่ไหลผ่านที่ราบในหุบเขาออกสู่ทะเลสาบสงขลามาก่อนแล้ว และได้สร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ
ตามที่ เดอ ลามาร์ วิศวกรชาวฝรั่งเศสท�าขึ้น ในสมัย ขึ้นในภายหลังโดยใช้ภูเขาเชื่อมต่อเป็นปราการป้องกัน ตามสภาพบนแผนที่ซึ่งเดอ ลามาร์ท�าไว้เมื่อกว่า ๓๐๐ ปี
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. ๒๒๓๐ แสดงให้เห็น มาแล้ว ร่องรอยเหล่านี้ล้วนเป็นหลักฐานที่ยังต้องการศึกษาในรายละเอียดต่อไป
สภาพแนวก�าแพงเมือง-คูเมืองที่มีอยู่ก่อนแล้ว และ
324 324 l