Page 340 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 340

07 ํ 16’ N  “หัวเขาแดง” ที่ตั้งท่าเรือในอดีตและปัจจุบัน
                                                           100 ํ 36’ E
                                                                          “หัวเขาแดง” ที่ตั้งเมืองโบราณสิงหนคร มีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบและป้อมปราการ
                                                                     บนภูเขา อยู่ตรงข้ามปากคลองทะเลสาบสงขลากับแหลมสมิหลา บริเวณที่ตั้งเมืองสงขลาในปัจจุบัน
                                                                     หัวเขาแดงตั้งอยู่บนปลายแหลมของสันทรายสทิงพระ ที่มีชายฝั่งทะเลยาวเกือบเป็นเส้นตรง
                                                                     จนถึงแหลมตะลุมพุกในจังหวัดนครศรีธรรมราช ระยะทาง ๑๕๖ กิโลเมตร สภาพธรรมชาติ
                                                                     ในอดีตอ�านวยให้ที่ราบลุ่มโดยรอบทะเลสาบสงขลามีความเจริญเป็นบ้านเมืองและท่าเรือบน

                                                                     เส้นทางข้ามคาบสมุทรฝั่งอ่าวไทยข้ามไปยังทะเลอันดามัน ที่หัวเขาแดงปัจจุบันเป็นที่ตั้งท่าเรือ
                                                                     “ติณสูลานนท์” สร้างซ้อนทับบริเวณก�าแพงเมือง-คูเมืองสิงหนครที่ถูกคลื่นและกระแสน�้ากัดเซาะ
                                                      แหลมสมิหลา
                                                                     หายไปในอดีต เป็นภูมิปัญญาที่แตกต่างจากอดีตที่สร้างท่าเรืออยู่ตรงกันข้ามหัวเขาแดงด้านใน
                                                                     ของทะเลสาบเพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรงคลื่นและกระแสน�้า  ซึ่งเห็นได้จากหลักฐานท่าเรือ
                                                                     ในอดีตทุกแห่งสร้างอยู่ด้านในทะเลสาบ การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติท�าให้ทางออกทะเล
                                                                     ด้านปากพนังตื้นเขินไม่สะดวกในการคมนาคม ท�าให้เมืองต่าง ๆ ในบริเวณทะเลสาบสงขลา
                                                                     ลดความส�าคัญลง อย่างไรก็ตาม “ลุ่มทะเลสาบสงขลา” มีชัยภูมิที่มีศักยภาพสูงส�าหรับการ

                                                                     ตั้งถิ่นฐานและเป็นเมืองท่าค้าขายที่คงความส�าคัญมาตลอด  จึงคาดการณ์ได้ว่าการพัฒนา
                                                                     ทะเลสาบโดยมีอุโมงค์ลอดแทนสะพาน  และเปิดทางออกสู่ทะเลเป็นท่าเรือให้สอดคล้อง
                                                        บ่อยาง       กับธรรมชาติเยี่ยงในอดีตอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
                                                                          “เมืองสิงขระ” ถึง “เมืองสงขลา”
                                                                          “ปากน�้า หรือปากทะเลสงขลา” ทางผ่านเข้า-ออกสู่ทะเล มีความส�าคัญถึงระดับนานาชาติ
                                                                     ในฐานะเป็นเมืองท่าค้าขายในส่วนด้านใต้ของอ่าวไทยและมีศักยภาพควบคุมเส้นทางการค้า
                                                                     ข้ามคาบสมุทร จากอ่าวไทยผ่านทะเลสาบสงขลาข้ามไปยังฝั่งทะเลอันดามันที่มีมาตลอดเวลา
                                    ปากทะเลสาบสงขลา         N        ในอดีต แต่ครั้งที่ทะเลสาบสงขลายังมีทางออกสู่ทะเลได้สะดวกทั้ง ๒ ทาง ด้านทิศเหนือผ่านบริเวณ
                                                                     “แม่น�้าปากพนัง” และด้านทิศใต้ทาง “ปากทะเลสาบสงขลา” โดยอาศัยเส้นทางข้ามคาบสมุทร

                                                           2 km.     “พัทลุง-ปะเหลียน” ตัดผ่านเทือกเขาหลวงออกสู่ทะเลอันดามัน จนถึงสมัยที่ทางออกสู่ทะเล
              07 ํ 10’ N
              100 ํ 32’ E                           DigitalGlobe _2009  ด้านทิศเหนือถูกปิดกั้นตามธรรมชาติไม่สะดวกเป็นทางเข้า-ออกมากว่า ๓๐๐ ปีที่ผ่านมา เส้นทาง


                                                                                                                            07 ํ 30’ N
                                                                                                                           100 ํ 51’ E




































                                                                                                                              N


               07 ํ 07’ N
               100 ํ 20’ E                                                                                                  5 km.




           326 326  l
   335   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345