Page 106 - ภัมภีร์กศน.
P. 106

สรุป
                 การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นแนวคิดที่มีการนำเสนอในการประชุม

          ระดับนานาชาติทางการศึกษาเป็นครั้งแรกในช่วงปลายยุค 1960 ต่อเนื่อง
          กับต้นยุค 1970 โดยกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วซึ่งประสบความสำเร็จใน
          การจัดการศึกษาที่เน้นระบบโรงเรียน เสนอให้เปลี่ยนแปลงจุดเน้นจาก

          การศึกษาในโรงเรียนไปสู่การศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตของบุคคล


          ผู้เรียบเรียง   รุ่งอรุณ ไสยโสภณ  กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

          เอกสารและแหล่งอ้างอิง

          สุมาลี สังข์ศรี. 2544. การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21.
                 กรุงเทพ : องค์การค้าคุรุสภา.

          สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2549. รายงานการวิจัยเรื่อง  การ
                 ศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาการศึกษาไทยกับนานาชาติ  :
                 นวัตกรรมด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อยกระดับการศึกษาของ

                 แรงงานไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
          Lifelong  Learning,  Policy  Brief,  Organization  for  Economic
                 Co-operation and Development: OECD, 2004 แปลและ

                 เรียบเรียง โดย นายรักกิจ ศรีสรินทร์ เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ 7
                 กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
          Peterson, R.E. 1979. Lifelong Learning in America. San Francisco :

                 Jossey-Bass.
          http://www.stabundamrong.go.th/interest/learning.doc







         00    เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดำเนินงาน กศน. : คัมภีร์ กศน.
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111