Page 52 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 52

47



                              2. ตองครอบคลุมรายละเอียดอยางเพียงพอที่จะสามารถปฏิบัติใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

                       หรือเปาหมาย
                              3. มีความยืดหยุนพอสมควร สามารถปรับใชกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปได

                              4. มีระยะเวลาการดําเนินการที่แนนอน

                              5. มีการกําหนดบทบาทหนาที่ของผูปฏิบัติตามแผนชัดเจน
                              6. ผูที่เกี่ยวของกับแผนมีสวนรวมในการวางแผนชัดเจน

                              7. ใชขอมูลเปนพื้นฐานในการตัดสินใจทุกขั้นตอน


                              เทคนิคการวางแผนที่ดี

                              1. กําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายใหชัดเจน
                                     1.1 วัตถุประสงค หมายถึง สิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคต วัตถุประสงคของการ

                       วางแผนของแตละระดับ การจัดการจะมีลักษณะที่แตกตางกันตามบทบาทหนาที่ที่รับผิดชอบ

                       วัตถุประสงคขององคกรยอมตองรับผิดชอบความสําเร็จในภาพรวมขององคกร วัตถุประสงคของ
                       กลุมหนาที่รับผิดชอบตอความสําเร็จในภาระหนาที่หนึ่ง วัตถุประสงคของกิจกรรมรับผิดชอบตอ

                       ความสําเร็จในกิจกรรมหนึ่ง

                                     1.2 เปาหมาย เปนสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตเชนกัน แตจะมีลักษณะ
                       เฉพาะเจาะจงกวาวัตถุประสงค มักระบุเปนเลขที่ชัดเจน เชน

                                     ตองการสรางผลกําไรปละ 10,000,000 บาท

                                     ตองการผลิตใหไดปละ 500 คัน
                                     ตองการทํายอดขายใหไดปละ 30,000,000 บาท

                                     อยางไรก็ตาม การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรจะตองมีความ

                       สอดคลองกับกลยุทธและนโยบายขององคกรดวย

                              2. กําหนดกิจกรรมเปนแนวทางหรือรองรับการปฏิบัติงานใหเกิดความสําเร็จตาม
                       วัตถุประสงค ดังนี้

                                     2.1 วิเคราะหกิจกรรมที่ตองการ

                                     2.2 กําหนดผูรับผิดชอบแตละกิจกรรม
                                     2.3 กําหนดระยะเวลาดําเนินการของแตละกิจกรรม ตลอดจนความสัมพันธ

                       ระหวางกิจกรรม

                                     2.4 กําหนดงบประมาณของแตละกิจกรรม

                              3. วิเคราะหหรือตรวจสอบความเปนไปไดของแผน แผนงานตาง ๆ ที่ถูกเขียนขึ้นจากความรู
                       ความสามารถของผูบริหารที่แตกตางกันอาจไมมีความสมบูรณหรืออาจเปนไปไมไดในทางปฏิบัติ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57