Page 96 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 96

86


                       ในการได้ร่วมกิจกรรมสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถคิดวิเคราะห์

                       สังเคราะห์แก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผลและเห็นคุณค่าของตนเอง

                                     วิคลันต์ (Wicklund. 2003 : 3457–A) ได้ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและ

                       ประสิทธิผลของการเรียนรู้รายบุคคลกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในระดับมหาวิทยาลัย

                       แม้ว่ามีงานวิจัยสนับสนุนให้จัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันในระดับต ่ากว่าอุดมศึกษา

                       แต่ในระดับอุดมศึกษายังไม่มีงานวิจัยสนับสนุน การศึกษาครั้งนี้ได้ก าหนดสมมติฐานไว้ 4

                       ข้อ คือนักศึกษาที่เรียนแบบเอกัตภาพและเรียนแบบร่วมมือมีผลการเรียนแตกต่างกัน การ

                       เรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้เป็นรายบุคคลมีการใช้เวลาในการช่วยเหลือของครูแตกต่างกัน

                       นักศึกษาที่เรียนแบบรายบุคคลกับการเรียนแบบร่วมมือกันมีระยะเวลาในการใช้

                       คอมพิวเตอร์เพื่อการท างานที่มอบหมายแตกต่างกัน นักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม ระยะเวลาที่ใช้ใน

                       การศึกษาแตกต่างกัน การศึกษาในรูปแบบการทดสอบหลังเรียน โดยแบ่งนักศึกษาเป็น 2

                       กลุ่ม กลุ่มหนึ่งเรียนแบบร่วมมือกันใช้เวลาในการศึกษาคอมพิวเตอร์น้อยกว่านักศึกษาที่

                       เรียนแบบเป็นรายบุคคล แต่นักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันในเรื่องอื่น ๆ ที่ก าหนดไว้ใน

                       สมมติฐาน

                                     สเตเปิล (Staples. 2004 : 3987–A) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการท างาน

                       ร่วมกันของนักเรียนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา โดยการศึกษาปัญหาการ

                       เรียนแบบร่วมมือในการเรียนคณิตศาสตร์เป็นอย่างไร ผู้สอนและผู้เรียนจะมีบทบาทอย่างไร


                       ในการเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือมีการช่วยเหลือกันอย่างไร โดยการบันทึก
                       วิดีโอ การสัมภาษณ์ การส ารวจและการท าผลงานในชั้นเรียน ผลการศึกษาพบว่า วิธีการ


                       สอนของผู้สอนเกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ

                       ร่วมมือกันเรียนรู้ มีกรอบและแนวคิด 2 แนวทางคือ

                                     1) การสร้างผู้สอนให้มีบทบาทในการเป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมมือ

                                     2) การสร้างตัวแบบให้ผู้เรียนพัฒนาบุคลิกภาพที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบ

                       ร่วมมือ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101