Page 94 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 94

84


                       นัยส าคัญทางสถิติเช่นกัน แต่อยู่เพียงขอบเท่านั้นข้อค้นพบจากผลกระทบของปัจจัย

                       สภาพแวดล้อมการเรียนรายวิชาที่มีผลต่อการเรียนและ ความเป็นเลิศของการสอนและ

                       รายวิชามีนัยส าคัญอย่างยิ่งการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความส าพันธ์และวิธีการด าเนินการทาง

                       สถิติแบบพหุถดถอยการศึกษาครั้งนี้มีความส าคัญทั้งความลุ่มลึกและขอบเขตของการศึกษา

                       ในการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ในวิทยาลัยชุมชน ส่วนปัจจัยสภาพแวดล้อมการเรียน

                       รายวิชาโดยรวมส่งผลกระทบต่อการประมาณค่าผลการเรียนของนักศึกษาและความเป็นเลิศ

                                     คอพโซวิช (Kopsovich. 2003 : 3100-A) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง

                       ลักษณะการเรียนของนักเรียนกับคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ในการทดสอบทักษะความรู้ใน

                       รัฐเท็กซัส โดยมีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการเรียนของ

                       นักเรียนส่งผลต่อคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ในการสอบทักษะความรู้ในรัฐเท็กซัสหรือไม่

                       อย่างไร โดยค าถามการวิจัยได้แก่   (1) มีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการเรียนของนักเรียน

                       กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่  (2) มีความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์

                       เพศ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่ผู้ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียน

                       ระดับ 5 จ านวน 500 คน วิเคราะห์ข้อมูลตามแบบเพียร์สันที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ .05

                       ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะการเรียนมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ นักเรียนชาติ

                       พันธุ์ตะวันตก มีความมุ่งมั่นที่จะแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ที่ยุ่งยาก นักเรียนชาติพันธุ์เม็กซิกัน

                       ชอบบรรยากาศเรียนแบบกันเอง และต้องการเอาใจครูผู้สอนส่วนนักเรียนอเมริกันนิโกรช


                       อบการเรียนแบบเคลื่อนไหว นักเรียนหญิงและนักเรียนชายชอบบรรยากาศการเรียนที่
                       สวยงามต้องการอาหาร เครื่องดื่ม ต้องการความส าเร็จ ต้องการสนับสนุนจากครูและ


                       ผู้ปกครองแต่นักเรียนชายเข้าชั้นเรียนสาย ข้อเสนอแนะก็คือถ้าครูมีข้อมูลข้างต้นก็จะเกิด

                       ประโยชน์ต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียน

                                     วิคลัน (Wicklund. 2003 : 3457-A) ได้ศึกษาประสิทธิผลของการเรียนรู้แบบ

                       รายบุคคลกับการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในระดับมหาวิทยาลัย แม้ว่ามีงานวิจัยสนับสนุนให้

                       จัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันในระดับต ่ากว่าอุดมศึกษา แต่ในระดับอุดมศึกษายังไม่

                       มีงานวิจัยสนับสนุนการศึกษาครั้งนี้ก าหนดสมมุติฐานไว้ 4 ข้อ คือ 1) นักศึกษาที่เรียนแบบ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99