Page 90 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 90
80
นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค TAI มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนและแรงจูงใจในการเรียนสูงกว่า นักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยส าคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01 แสดงว่าการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค
TAI เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท าให้นักเรียนเรียนได้ดีขึ้น
มีการช่วยเหลือกันในกลุ่ม มีการยอมรับ และเห็นความส าคัญของเพื่อนมากขึ้น
ปาริชาติ ทิพม่อม (2550 : 75 - 81) ได้ศึกษาผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ เรื่อง วงรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
เป็นกลุ่ม (TAI) กลุ่มตัวอย่างคือได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนพรเจริญวิทยา จังหวัดหนองคาย จ านวน 42 คน
เครื่องมือที่ใช้คือ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัด
ความพึงพอใจ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง วงรี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เป็นกลุ่ม (TAI) มี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 81.89/75.71
2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องวงรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้เป็นกลุ่ม (TAI) เท่ากับ 0.66 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนหลังเรียน
คิดเป็นร้อยละ 66 และเมื่อท าการทดสอบความมีนัยส าคัญของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05
3. นักเรียนที่เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง วงรี ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 4โดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้เป็นกลุ่ม (TAI) มีคะแนนเฉลี่ย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไปแล้ว 2 สัปดาห์ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05
4. ความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนรู้ด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นกลุ่ม (TAI) โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.24 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก