Page 89 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 89

79


                                     1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของการจัด

                       กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (TAI) เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า

                       แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.48/81.59

                                     2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ

                       เรียนรู้คณิตศาสตร์ ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (TAI) เรื่อง เศษส่วน ชั้น

                       ประถมศึกษาปีที่ 4 เท่ากับ 0.69 หรือคิดเป็นร้อยละ 69

                                     3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม

                       ร่วมมือ(TAI) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4

                       โดยรวมอยู่ในระดับมาก

                                     4. ความคงทนในการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของการจัด

                       กิจกรรมการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ (TAI) เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนน

                       เฉลี่ยหลังการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน จากคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนแสดง

                       ว่า นักเรียนมีความสามารถในการคงทนความรู้สึกหลังเรียนได้ทั้งหมด

                                     นางสาวนันทนาภรณ์ ภูมิพยัคฆ์ ( 2550 : 97 -98 ) ได้ศึกษาการเปรียบเทียบ

                       ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวและแรงจูงใจในการเรียน ระหว่างวิธีการ

                       เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิคTAI กับวิธีการเรียนรู้แบบปกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม

                       ตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนโนน


                       เจริญพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์ จ านวน 64 คนได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random
                       Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ


                       แผนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค TAI และแผนการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มละ5

                       แผน  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชนิดเลือกตอบ 5 ตัวเลือก

                       จ านวน 30 ข้อ ผลการศึกษาพบว่า  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปริมาตรและ

                       พื้นที่ผิว และแรงจูงใจในการเรียน ระหว่างวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค TAI

                       กับวิธีการเรียนรู้แบบปกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.70 / 79.38 และ

                       72.46 / 71.88  ตามล าดับ  ดัชนีประสิทธิผลของแผนเท่ากับ 0.7242 และ 0.6346 ตามล าดับ
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94