Page 15 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
P. 15
หลักของการปฐมพยาบาลทางใจ สิ่งที่ผู้ช่วยเหลือไม่ควรท�าในการ
ปฐมพยาบาลทางใจ
1. พูดคุยเพื่อสร้างความสัมพันธ์ ให้เกียรติ
ไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัว 1. ไม่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญแต่ควรแสดง
2. ท�าให้ผู้รับผลกระทบรู้สึกปลอดภัย เชื่อมั่น ความเป็นมิตร มีความอบอุ่นเข้าใจ
เกิดความสะดวก ทั้งร่างกายและจิตใจ เช่น หาสถานที่ 2. ไม่ใช้ค�าพูดที่ไม่เหมาะสม เช่น อย่าเสียใจ
ปลอดภัย ที่ท�าให้รู้สึกผ่อนคลาย อย่าคิดมาก คนอื่นก็เป็นอย่างนี้ เดี๋ยวดีขึ้นเอง เป็นต้น
3. ช่วยให้ผู้ได้รับผลกระทบอารมณ์สงบและ 3. ไม่แสดงความเห็นอกเห็นใจ มีอารมณ์ร่วม
ผ่อนคลายขึ้น เช่น ผู้ได้รับผลกระทบร้องไห้ ผู้ช่วยเหลือ เช่น ร้องไห้ แต่ควรยอมรับปฏิกิริยาทางอารมณ์รุนแรง
ส่งกระดาษทิชชูให้ เพื่อเป็นการให้ก�าลังใจและรู้สึก ของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ผ่อนคลาย 4. ไม่สัญญาในสิ่งที่ไม่แน่ใจว่าท�าให้ได้ แต่ให้
4. ช่วยให้ผู้ได้รับผลกระทบบอกความต้องการ ความช่วยเหลือตามความเป็นจริงอย่างเหมาะสม
เร่งด่วนได้ เช่น ทุกเรื่องเป็นเรื่องส�าคัญ แต่เรามาคิดกันก่อน 5. ไม่ตีตราผู้ประสบภาวะวิกฤตว่ามีอาการ
ว่าเรื่องไหนส�าคัญที่สุด ทางจิต แต่ให้ข้อมูลว่าอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น อาจคงอยู่
5. ให้ข้อมูลและให้ความช่วยเหลือที่ปฏิบัติได้ ระยะหนึ่ง และจะค่อยๆ ดีขึ้น
6. ช่วยประสานติดต่อสมาชิกในครอบครัว 6. ไม่ควรซักถามหรือให้เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อนบ้าน เช่น มีใครที่ต้องการให้ติดต่อไหม แต่ควรอดทนรับฟังอย่างตั้งใจ หากเขายังเล่าเรื่องเดิม
7. ช่วยให้ผู้ได้รับผลกระทบมีความเข้มแข็ง ซ�้าๆ
เช่น ที่ผ่านมาเวลามีเรื่องไม่สบายใจ คุณมีวิธีจัดการ 7. ไม่แยกสมาชิกครอบครัวออกจากกัน และ
อย่างไร ควรปฏิบัติกับเด็กด้วยความจริงใจ เท่าเทียมกับผู้ใหญ่
8. ช่วยประสานให้ผู้ได้รับผลกระทบสามารถ 8. ไม่สื่อสารทางลบ และรักษาความลับตาม
เข้าถึงความช่วยเหลือจากหน่วยบริการอื่นๆ ได้สะดวก ความเหมาะสม
เช่น โรงพยาบาล
จะเห็นได้ว่าการปฐมพยาบาลทางใจ ไม่จ�าเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ คุณสามารถให้ความช่วยเหลือ
ได้ในเบื้องต้น เพื่อบรรเทาสภาพจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตที่ต้องการการดูแลช่วยเหลือ น�าไปสู่
การรักษาที่เหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญ หรือจนกระทั่งภาวะวิกฤตนั้นดีขึ้น และยังเป็นการป้องกัน
การเกิดปัญหาสุขภาพจิตในอนาคต
รายการอ้างอิง
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. การปฐมพยาบาลทางจิตใจ คุณก็ช่วยคนอื่นได้. พิมพ์ครั้งที่ 2. พฤศจิกายน 2559.
วารสารสุขภาพ 15
ส�านักอนามัย