Page 121 - Annual Report 2552
P. 121

ตารางที่ 2 : กระแสเงินสดของนักลงทุนภายใต้การลงทุนใน Capital Indexed Bond อายุ 10 ปี
                        (ในกรณีที่อัตราดอกเบี้ยแท้จริงเท่ากับร้อยละ 1 ต่อปี)


                 ปีที่  เงินต้น เงินเฟ้อ (%)   ดัชนีชี้วัด  อัตราดอกเบี้ยหน้า    ดอกเบี้ยจ่าย   เงินที่ต้องชาระ
                          (1)       (2)     เงินเฟ้อสะสม*     พันธบัตร (%)     (1)x(3)x(4) = (5)  ในแต่ละงวด
                                                 (3)              (4)
                 1        100      3%           1.03              1%                1.03            1.03

                 2        100      3%           1.06              1%                1.06            1.06

                 3        100      1%           1.07              1%                1.07            1.07
                 4        100      4%           1.11              1%                1.11            1.11
                 5        100      3%           1.15              1%                1.15            1.15

                 6        100      5%           1.21              1%                1.21            1.21
                 7        100      1%           1.22              1%                1.22            1.22

                 8        100      2%           1.24              1%                1.24            1.24
                 9        100      3%           1.28              1%                1.28            1.28

                 10       100      4%           1.33              1%                1.33           134.33

             * ดัชนีชี้วัดเงินเฟ้อสะสม (Index Ratio) : เป็นดัชนีสาหรับการชี้วัดเงินเฟ้อสะสมตลอดช่วงอายุของพันธบัตรรุ่นดังกล่าว (ปีที่ออกมีค่า
             เท่ากับ 1)


                      พันธบัตร CIB มีลักษณะที่มีการจ่ายดอกเบี้ยที่ต่ำา แต่จะมีการชำาระคืนเงินต้นที่สูง เนื่องจากเงินต้น
            ดังกล่าว  ได้ถูกรวมส่วนชดเชยเงินเฟ้อตลอดระยะเวลาของ ILB  รุ่นนั้นๆ  ทำาให้ CIB  สามารถรักษาอำานาจซื้อ
            ของนักลงทุนได้อย่างสมบูรณ รวมถึงให้ผลตอบแทนที่สูงกว่าเงินเฟ้อตลอดเวลา จากคุณสมบัติดังกล่าวทำาให้

            การออก ILB ในต่างประเทศ กว่าร้อยละ 95 เป็นการออกในรูปแบบของ CIB

                      อย่างไรก็ตาม ลักษณะในการจ่ายเงินของ CIB จะทำาให้จำานวนเงินที่ต้องคืนเมื่อครบกำาหนด มีวงเงิน
            ที่สูงกว่าพันธบัตรทั่วไปมาก (เป็นผลมาจากเงินเฟ้อที่ชดเชยตลอดอายุของ CIB) ซึ่งอาจส่งผลให้วงเงินของภาระ
            การชำาระหนี้ของรัฐบาลในปีที่ CIB ครบกำาหนด มีจำานวนที่สูงกว่าปีอื่นๆ ดังนั้น การดำาเนินการออก CIB จำาเป็น

            ต้องมีการวางแผน และการประมาณการภาระการชำาระหนี้ในปีที่ครบกำาหนดอย่างดี เพื่อไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของ

            ภาระการชำาระหนี้ในอนาคต
                    2) Interest Indexed Bond (IIB)
                      ILB ประเภท IIB จะมี Coupon Rate เป็นลักษณะอัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยผู้ออกจะกำาหนด Coupon

            Rate โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ Real Rate (มีลักษณะเป็นอัตราคงที่) อัตราเงินเฟ้อในแต่ละงวด และส่วน

            ชดเชยเงินเฟ้อสำาหรับ Real Rate และจะชำาระคืนเมื่อครบกำาหนดไถ่ถอนในราคา Par ตารางที่ 3 แสดงให้เห็น
            ถึงกระแสเงินสดของ IIB อายุ 10 ปี ที่มีสมมติฐานว่า เงินต้นเท่ากับ 100 บาท Real Rate เท่ากับร้อยละ 1 ต่อปี
            ซึ่งจะเห็นได้ว่าจำานวนดอกเบี้ยที่จ่ายในแต่ละงวดจะผันผวนขึ้นลงตามอัตราเงินเฟ้อ และในวันครบกำาหนดไถ่ถอน

            จะจ่ายเงินต้นคืนเป็นเงินจำานวน 100 บาท บวกกับดอกเบี้ย จำานวน 5.04 บาท





  120     รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126