Page 125 - Annual Report 2552
P. 125

ตารางที่ 5: เหตุผลและความจำาเป็นในการออก ILB







               1.  ความตองการระดมทุนของรัฐบาล
                  งปม. 2553                                                  2.  ความสอดคลองดานนโยบาย
                  - การดำเนินนโยบายขาดดุล  3.5 แสนลานบาท                       นโยบายการคลังไปในทิศทาง

                  - ปรับโครงสรางหน�้      1.9 แสนลานบาท                       เดียวกับนโยบายการเงิน
                  - พ.ร.ก. ไทยเขมแข็ง     3.2 แสนลานบาท



                                                           ILBs





                                          3.  การพัฒนาตลาดตราสารหน�้

                                              - สรางความหลากหลายใหผลิตภัณฑตราสารหน�้
                                              - ขยายฐานนักลงทุน
                                              - สรางเครืื่องมือปองกันความเสี่ยงจากเงินเฟอ



                  5. ข้อควรพิจารณา

                     5.1 การเลือกใช้ดัชนีวัดการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อ
                      ดัชนีชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อที่ต่างประเทศนิยมนำามาใช้เป็นอัตราอ้างอิงในการออก ILB

            มากที่สุด ได้แก่ ดัชนีราคาผู้บริโภค หรือ Consumer Price Index (CPI) ซึ่งมีทั้งดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป
            (Headline CPI) และดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน (Core CPI) ซึ่งไม่รวมสินค้าที่มีราคาผันผวน เช่น สินค้าเกษตร

            และพลังงาน เป็นต้น นอกจากนี้ ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ใช้ CPI-Urban ซึ่งวัดดัชนีราคาผู้บริโภคเฉพาะ
            ในเมืองเป็นดัชนีอ้างอิง เนื่องจากเห็นว่ากลุ่มนักลงทุนเป้าหมายอาศัยอยู่ในชุมชนเมือง ดังนั้น ปัจจัยสำาคัญที่ผู้ออก

            ต้องคำานึงถึงในการเลือกดัชนีอ้างอิง  ได้แก่  ความน่าเชื่อถือ  ความโปร่งใสในการคำานวณและความสม่ำาเสมอของ
            ดัชนีที่ใช้รวมไปถึงความเป็นอิสระจากผู้ออก ILB

                      อย่างไรก็ตาม ความล่าช้าของการประกาศดัชนี หรือ Indexation Lag ถือเป็นปัจจัยที่สำาคัญต่อ
            ความน่าเชื่อถือของดัชนีที่ใช้ด้วย เนื่องจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องใช้เวลาระยะหนึ่ง

            สำาหรับการคำานวณ และการประกาศดัชนี จึงทำาให้อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรที่ผูกติดกับตัวเลขดัชนี
            ดังกล่าว ไม่สะท้อนภาวะเงินเฟ้อได้อย่างแท้จริงและเกิดความเหลื่อมล้ำาของเวลาที่ประกาศตัวเลขดัชนีกับเวลาที่

            จ่ายดอกเบี้ยอยู่บ้าง
                      รูปแบบ ILB ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้กำาหนดอัตรา Index Ratio เพื่อสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลง

            ของเงินเฟ้อสะสม ตั้งแต่วันที่เริ่มออก ILB รุ่นนั้นๆ จนถึงปัจจุบัน โดยใช้ดัชนี CPI ย้อนหลัง 3 เดือนก่อนหน้า




  124     รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130