Page 127 - Annual Report 2552
P. 127
5.4 วิธีการจัดจำาหน่าย
การจัดจำาหน่าย ILB ในต่างประเทศสามารถทำาได้หลายวิธี ซึ่งการกำาหนดวิธีการจัดจำาหน่าย
จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาวะตลาด โครงสร้างของนักลงทุน และกฎเกณฑ์ของแต่ละประเทศ เป็นต้น
โดยสามารถแยกวิธีการจัดจำาหน่าย ILB ได้ 2 วิธี ดังนี้
• วิธีการประมูล
การจำาหน่าย ILB โดยวิธีการประมูลจะทำาให้ได้รับต้นทุนที่ต่ำา และมีความโปร่งใส เนื่องจากจะเกิด
การแข่งขันในการเข้าซื้อของนักลงทุนมากที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่ของการดำาเนินการออก ILB ในต่างประเทศจะใช้วิธี
การประมูล เช่น สหราชอาณาจักร ใช้วิธีการประมูลแบบราคาเดียว (Uniform Price Auction) เนื่องจาก ILB เป็น
พันธบัตรที่มีความซับซ้อน และมีสภาพคล่องในตลาดรองที่ต่ำา ทำาให้การคำานวณหาราคาที่เหมาะสมทำาได้ยาก
จึงใช้วิธีการประมูลแบบ Uniform Price Auction เพื่อลดความเหลื่อมล้ำาของราคาของผู้เข้าร่วมการประมูล
รวมทั้งลด Winner’s curse ของการประมูลด้วย
• วิธี Syndication
การจัดจำาหน่ายตราสารหนี้ด้วยวิธี Syndication เหมาะสำาหรับการออกตราสารหนี้ที่เป็น
ผลิตภัณฑ์ใหม่ นักลงทุนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตราสารหนี้ดังกล่าวน้อย และไม่มีราคาอ้างอิงในตลาด
หลายประเทศใช้การทำา Syndication ในการออก ILB เป็นครั้งแรก ซึ่งทำาให้สามารถหาราคาอัตราผลตอบแทน
รวมถึงความต้องการของนักลงทุนได้อย่างเหมาะสม
6. บทสรุป: 3 ด่านสุดท้ายก่อนออก ILB
ในการออก ILB เป็นครั้งแรกในประเทศไทยให้ประสบความสำาเร็จ มีความยั่งยืน และให้สามารถใช้ ILB
เป็นทางเลือกในการระดมทุนได้อย่างทัดเทียมกับตลาดโลก กระทรวงการคลังจำาเป็นต้องผ่านด่านสำาคัญที่จะเป็น
สิ่งบั่นทอนความมุ่งหมายดังกล่าว 3 ด่านด้วยกัน ดังนี้
ตารางที่ 6 : ด่านสำาคัญก่อนการออก ILB
การออก Inflation - Linked Bond ในปงบประมาณ พ.ศ. 255…
- Inter-Generation Transferring
ดานภาระหน�้ - การกำหนดกรอบวงเงินการกูดวย ILB ตอป
- ความเขาใจของนักลงทุนในการลงทุนใน ILB
ดานความตองการของตลาด - ปริมาณของ ILB ที่เพียงพอใหเกิดอัตราอางอิง
- สรางกลไกการซื้อขายในตลาดรอง
ดานความยั�งยืน
- นโยบายที่ชัดเจนในการออก ILB อยางตอเน��อง
6.1 ด่านภาระหนี้
อย่างที่ได้กล่าวในบทข้างต้น ในการออก ILB ประเทศไทยควรดำาเนินการออกในรูปแบบ CIB
เนื่องจากเป็นรูปแบบที่ความนิยมในตลาดโลกสูงที่สุด และเป็นที่ยอมรับจากนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ รวมถึง
มีเครื่องมือและแบบจำาลองทางการเงินต่างๆ ที่ได้พัฒนาให้สอดรับกับรูปแบบ CIB ไว้อยู่แล้ว โดยในรูปแบบ
126 รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009