Page 123 - Annual Report 2552
P. 123

ตารางที่ 4 : เปรียบเทียบ ILB ทั้ง 3 รูปแบบ



                                   Capital Indexed Bond      Interest Indexed Bond    Indexed Zero Coupon Bond

                         ตลอดอายุ  มีการชดเชยทั้งส่วนของเงินต้น
                        ของตราสาร      และดอกเบี้ย       มีการชดเชยทั้งส่วนของเงินต้นและดอกเบี้ย  มีการชดเชยทั้งส่วนของเงินต้นและดอกเบี้ย
                                  ได้รับการชดเชยเงินเฟ้อครั้งเดียว  ได้รับการทยอยชดเชยเงินเฟ้อในทุกครั้งที่จ่าย  ได้รับการชดเชยเงินเฟ้อครั้งเดียวเมื่อครบ
             การรักษาอำานาจซื้อ       เงินต้น
                                      เมื่อครบกำาหนด              ดอกเบี้ย                    กำาหนด
                                 ได้รับการชดเชยเงินเฟ้อทุกครั้งที่จ่าย               ได้รับการชดเชยเงินเฟ้อครั้งเดียวเมื่อครบ
                         ดอกเบี้ย                        ได้รับการชดเชยเงินเฟ้อทุกครั้งที่จ่าย (6เดือน)
                                        (6 เดือน)                                             กำาหนด
                                                                                         ไม่มี Reinvestment Risk
                                มี Reinvestment Risk ที่ต่ำาเนื่องจากรับ  มี Reinvestment Risk ที่สูง เนื่องจากรับทั้ง
                Reinvestment Risk                                                    เนื่องจากไม่ได้รับดอกเบี้ยหรือส่วนชดเชย
                                 เฉพาะส่วนดอกเบี้ยที่จ่ายระหว่างทาง  ดอกเบี้ยและส่วนชดเชยเงินเฟ้อที่จ่ายระหว่างทาง
                                                                                        เงินต้นตลอดอายุของพันธบัตร
                อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว   Coupon คงที่ (เท่ากับ Real rate)  Coupon ลักษณะตัวลอย  ไม่มี Coupon
                 (Coupon Rate)
                การกำาหนดราคาขาย        ราคา Par                  ราคา Par                ราคาส่วนลด (Discount)
                                                                                        ได้รับชำาระคืนเงินต้นสูงกว่า Par
                                  ได้รับชำาระคืนเงินต้นสูงกว่า Par  ได้รับชำาระคืนเงินต้นที่ Par
                 การชำาระคืนเงินต้น                                                   (เนื่องจากได้รับดอกเบี้ยและส่วนชดเชย
                 เมื่อครบกำาหนด  (เนื่องจากได้รับส่วนชดเชยเงินเฟ้อ  (เนื่องจากได้ทยอยรับส่วนชดเชยเงินเฟ้อ  เงินเฟ้อของเงินต้นเพียงครั้งเดียวเมื่อครบ
                                ที่เงินต้นเพียงครั้งเดียวเมื่อครบกำาหนด)  ของเงินต้นไปแล้วระหว่างทาง)
                                                                                              กำาหนด)
                                                         นักลงทุนรายย่อยที่เน้นการรักษาอำานาจซื้อ  นักลงทุนที่ต้องการปิดความเสี่ยงทั้งจาก
                                นักลงทุนสถาบันที่เน้นการรักษาอำานาจ
              เหมาะกับลักษณะการลงทุน                    ของเงินลงทุน รวมทั้งต้องการได้รับผลตอบแทน  เงินเฟ้อและ Reinvestment Risk
                   ประเภทใด?    ซื้อตลอดระยะเวลาที่ลงทุน รวมถึงได้รับ  ในรูปของ ตัวเงินที่ไม่แตกต่างจากพันธบัตรปกติ  โดยไม่ต้องการกระแสเงินสดรับระหว่างทาง
                                 ผลตอบแทนโดยรวมสูงกว่าเงินเฟ้อ
                                                                   มากนัก                ก่อนพันธบัตรครบกำาหนด

                    จากการเปรียบเทียบ ILB ในแต่ละรูปแบบ (ตารางที่ 4) จะเห็นได้ว่า ILB ทั้ง 3 รูปแบบสามารถรักษา
            อำานาจซื้อของนักลงทุนได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจาก ILB ทั้ง 3 รูปแบบได้มีการชดเชยเงินเฟ้อให้ทั้งกับเงินต้นและ

            ดอกเบี้ยของเงินที่ลงทุนไป อย่างไรก็ตาม รูปแบบของ ILB ที่มีอยู่จริงในตลาดโลก มีเพียง 2 รูปแบบแรกเท่านั้น
            (CIB และ IIB) เนื่องจากรูปแบบ IZCB เป็นการจำาหน่ายในราคาส่วนลด (Discount Price) และการไม่มีการจ่าย

            ดอกเบี้ยระหว่างทางทำาให้ไม่มีนักลงทุนสนใจลงทุนในรูปแบบนี้


                    นอกจากนี้ จากรูปแบบของ IIB ที่มีการทยอยจ่ายส่วนชดเชยเงินเฟ้อของเงินต้นออกไปในทุกครั้ง
            ของการจ่ายดอกเบี้ย ทำาให้นักลงทุนต้องรับความเสี่ยงของการนำาเงินส่วนดังกล่าวไปลงทุนต่อ (Reinvestment
            Risk) ในขณะที่รูปแบบ CIB เงินส่วนดังกล่าวจะถูก Reinvest ด้วยอัตราเงินเฟ้อต่อไปจนครบกำาหนดชำาระ ซึ่ง

            จากรูปแบบการจ่ายส่วนชดเชยเงินเฟ้อดังกล่าวทำาให้รูปแบบ CIB เป็นที่นิยมมากกว่าในตลาดโลก เนื่องจาก CIB

            สามารถปิดความเสี่ยงในการรักษาอำานาจซื้อของเงินต้นได้มากที่สุด  ซึ่งถือเป็นกระแสเงินสดที่มีสัดส่วนใหญ่ที่สุด
            ของ ILB


                  4. แนวคิดในการออก ILB ของรัฐบาลไทย
                    4.1. ปัจจัยด้านความต้องการกู้เงินของรัฐบาลและการกระจุกตัวของหนี้ภาครัฐ

                      ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 รัฐบาลมีความจำาเป็นต้องกู้เงินจากตลาด

                *
              รูปแบบการออก IIB  ถูกนำาไปใช้ในการออก Series I Saving Bond  ของสหรัฐอเมริกา  ซึ่งเป็นการออกพันธบัตรออมทรัพย์เพื่อ
            ประชาชน และนักลงทุนรายย่อย

  122     รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128