Page 58 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 58

51



                  เจาของโรงรมยาง หรือผูคายางตางก็ร่ํารวยจากการประกอบธุรกิจยางพารา ซึ่งจากการวิเคราะหปญหา

                  โดยอาศัยประสบการณที่ผานมาของชาวบาน พบวา การที่เกษตรกรขายยางในราคาถูกนั้น เนื่องจากถูกกด

                  ราคาจากพอคาคนกลางหลายชั้น อีกทั้งปญหาหลักคือการที่ชาวสวนยางขาดความรูทั้งดานการจัดการ

                   และดานขอมูลขาวสาร ไมรูภาวะตลาด โดยเกษตรกรเปนเพียงผูผลิตเทานั้น และอีกสวนหนึ่งมาจากการ

                  ผลิตยางแผนของชาวบาน ยังไมมีคุณภาพและไมมีมาตรฐานเพียงพอ ดังนั้นแนวทางการแกปญหา จึงตอง

                  มีการรวมกลุมเกษตรกรเพื่อรวมกันปรับปรุงคุณภาพยางแผนที่มีการควบคุมคุณภาพ และใชเทคโนโลยี

                  ในการผลิตเพื่อใหขายยางปริมาณมากๆ ใหไดราคาและมีคุณภาพ เปนที่ตองการของตลาด

                         ในเวลาตอมาประยงค รณรงค และชาวบานกลุมหนึ่ง  จึงไปศึกษาดูงานโรงงานยางแผนอบแหง

                  ขององคการสวนยางนาบอน และโรงงานของเอกชนเมื่อป พ.ศ.2525 และเกิดความมั่นใจวาการประกอบ

                  กิจการโรงงาน เพื่อแปรรูปยางนาจะเปนคําตอบของการแกไขปญหาทั้งดาน การควบคุมการผลิต และการ

                  ตัดปญหาพอคาคนกลาง หลังจากนั้นพวกเขาจึงไดรวมกลุมประชุมปรึกษาหารืออีกหลายครั้ง เพื่อหา

                  ขอสรุปเรียนรูจากการศึกษาดูงาน และวางแผนดําเนินการเพื่อจัดตั้งโรงงานแปรรูปยาง โดยกําหนดขนาด


                  ของโรงงานและกําลัง การผลิตภายใตทุนและกําลังที่มีอยู พรอมกับการทํางานดานความคิดกับชาวบาน
                  ดวยการพูดคุยทําความเขาใจ เพื่อสรางแนวรวมและระดมทุน จนในที่สุด “กลุมเกษตรกรชาวสวนยางไมเรียง”


                  จึงกอเกิดขึ้นมา เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2527 และเริ่มทําการผลิตเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2527



                  ดวยสมาชิกกอตั้งจํานวน 37 คน มีกําลังการผลิตยางอบแหงวันละ 500 กิโลกรัม จนปจจุบันสามารถขยาย
                  สมาชิกเปน 179 คน และมีกําลังการผลิตสูงสุดไดถึงวันละ 5 ตัน


                         เรียนรูประสบการณการบริหารธุรกิจชุมชน
                         โครงสรางของ “กลุมเกษตรกรชาวสวนยางไมเรียง” ประกอบดวย คณะกรรมการบริหารที่มาจาก


                  การเลือกตั้งจากสมาชิก และสมาชิกของกลุม และจางผูจัดการ พนักงานประจํา และแรงงานในโรงงาน

                  เพื่อทําหนาที่ดําเนินการธุรกิจของกลุมภายใตการกํากับติดตามของกรรมการบริหาร และประชุมใหญ

                  สมาชิกทุกปเพื่อชี้แจงผลงานและแสดงบัญชี  สําหรับดานการจัดการนั้น ทางกลุมฯ จะรับซื้อน้ํายางจาก

                  สมาชิก และนํามาแปรรูปเปนยางแผนสงขายใหกับพอคา ทั้งนี้มีการทําบัญชีดานการเงินอยางชัดเจน

                   อีกทั้งเงินหมุนเวียนที่ใชในการซื้อขาย คาตอบแทน และรายไดจากการขายสินคา ไดใชกลไกผาน

                  ธนาคารเพื่อสรางเครดิตและสรางความโปรงใส สามารถตรวจสอบได นอกจากนี้ยังมีการติดตาม ราคา

                  ยางพาราและขอมูลขาวสารเกี่ยวกับความตองการ ยางพาราของตลาดโลก และติดตามดานนโยบายของรัฐที่

                  เกี่ยวของ ทําใหทางกลุมฯ รูเทากัน ตอขอมูลขาวสารและการเปลี่ยนแปลง

                         ตลอดเวลาที่ดําเนินธุรกิจ ทางกลุมฯ ไมเคยผิดพลาดหรือมีปญหาดานคุณภาพสินคาและการสงมอบ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63