Page 60 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 60

53



                         กลุมกิจกรรมตางๆ เหลานี้ มีวัตถุประสงคชัดเจนในการผลิตเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนและ

                  เชื่อมโยงกับตลาดภายนอก โดยผานการจัดการของแตละกลุมที่มีองคกรบริหารของตน โดยแตละ

                  กิจกรรมมีการวิเคราะหความตองการและความเปนไปไดของการผลิตและการตลาด ตลอดจนการ

                  ประมาณการสวนแบงของตลาดภายใน ของชุมชนไมเรียงที่มีจํานวนหนึ่งพันกวาครอบครัว รวมไปถึง

                  การเชื่อมโยงสูเครือขายตางๆ ในระดับอําเภอ ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ นอกจากนี้

                  แตละกลุมยังมีการสอดประสาน ของกิจกรรมและปจจัยนําเขาที่มีอยูภายในชุมชนอยางเปนระบบ เชน

                   กลุมผลิตอาหารสัตวทําหนาที่สงอาหารคุณภาพดี ราคาถูกวาทองตลาดใหกับกลุมเลี้ยงสัตวประเภทตางๆ

                   กลุมเพาะเลี้ยงเห็ด ไดขี้เลื่อยจากไมยางพารา หรือการมุงผลิตไกสามสายเลือดไมเรียง ที่เปนพันธุผสม

                  จากไกพันธุไข พันธุเนื้อ และไกพื้นบาน เพื่อเปนการลดตนทุนใหไดมากที่สุด นอกจากนี้ ตอไปสินคา

                  ทุกประเภทตอไปจะอยูภายใต ชื่อ "ไมเรียง" อันเปนการเปดตัวสินคาตอตลาดภายนอก

                         สําหรับดานแหลงเงินทุนนั้น ในเบื้องตน ชาวชุมชนไมเรียงไดรับการสนับสนุนจากกองทุน

                  ชุมชน (SIF) และมีการระดมทุนจากการขายหุนใหกับสมาชิกกลุม โดยตอไปจะมีการสนับสนุนดาน


                  เงินทุนจากธนาคารหมูบาน และกลุมออมทรัพยตางๆ ที่ไดจัดตั้งขึ้นมาแลว ทั้งนี้ ในอนาคตผูนําชุมชน
                  คาดหวังวา กลุมกิจกรรมแตละกิจกรรมนี้อาจสงผลใหมีการตั้งบริษัทชุมชนไมเรียงที่มีชาวบานรวมเปน


                  เจาของ รวมบริหาร และรวมรับผลประโยชนขึ้นอีก 8 บริษัท ก็เปนไปได
                         เครือขายการเรียนรูและมวลมิตร


                         ปจจุบันชุมชนไมเรียง มีเครือขายตางๆ มากมาย ตั้งแตระดับตําบล อําเภอ จังหวัด จนถึง
                  ระดับประเทศ โดยเครือขายดังกลาว ไดแก เครือขายยางพารา เครือขายยมนา (ชาวสวนยางพารา-ชาวสวน


                  ไมผล-ชาวนา) เครือขายภูมิปญญาไท เครือขายสาธารณสุขชุมชน นอกจากนี้ชุมชนไมเรียงยังเปนแหลง
                  ศึกษาดูงานชุมชนเขมแข็งใหกับชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ  อีกทั้งการดํารงอยูของชุมชนนั้นไมไดมีความ


                  โดดเดี่ยวหรือตอสูแตเพียงลําพัง แตไดรับการสนับสนุนทั้งดานเงินทุน ดานคําปรึกษา ดานการ

                  ประสานงาน และดานการอํานวยความสะดวกใหเกิดกระบวนการเรียนรู ทั้งจากองคกรพัฒนาเอกชน

                   ไดแก มูลนิธิหมูบาน ที่ไดทํางานในพื้นที่ตั้งแตป พ.ศ.2532 และจากองคกรภาครัฐ อยางเชน องคกร

                  บริหารสวนจังหวัด ที่จัดสรรงบประมาณในการกอสรางโรงงานยางแหงใหม เกษตรจังหวัด-อําเภอ-ตําบล

                   กองทุนชุมชน ฯลฯ

                         การถายทอด เผยแพร สิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนรูอันยาวนาน ตลอดระยะเวลาเกือบ 40 ป

                  ของชุมชนไมเรียง  แมจะไมครบถวนสมบูรณ แตสิ่งที่คนพบจากการศึกษาครั้งนี้คือ การสราง

                  กระบวนการเรียนรู  และความใสใจ ความตื่นตัวที่จะเรียนรูของชุมชนอยางยืนหยัด และตอสูกับปญหา

                  รวมกัน อันเปนปจจัยสําคัญที่สุดของการดําเนินงานธุรกิจชุมชน โดยมีสวนตางๆ ทั้งภาครัฐและ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65