Page 64 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 64

57



                  รับผิดชอบตอการสรางเครือขายรวมกันเองใชเวลา  ตองเคารพและความไววางใจซึ่งกันและกันเปน

                  สิ่งสําคัญ และตองพึงระลึกไวเสมอวาในภาพรวม องคกรที่รวมเครือขายจะตองไดรับประโยชนจาก
                  การสรางเครือขาย ตองหมั่นสรุปบทเรียนการทํางาน วิเคราะหจุดแข็งจุดออนตางๆ  และตองจําไวเสมอวา

                  ในชวงการรวมเปนเครือขายหรือประสานงานกัน สถานการณอาจมีการเปลี่ยนแปลง เราตองตระหนักถึง

                  ปญหา และมีความยึดหยุนพอสมควร ที่สําคัญที่สุดคือ  ตองมีความรับผิดชอบในความสําเร็จ หรือความ
                  ลมเหลวรวมกัน



                  เรื่องที่ 3 กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง


                         “...ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้นเริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือ ความพอมี

                  พอกิน พอใชของประชาชนกอนดวยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา  เมื่อพื้นฐาน

                  เกิดขึ้นมั่นคงพอควรแลว  จึงคอยสรางเสริมความเจริญขั้นสูงขึ้นตามลําดับตอไป  ...การถือหลักที่จะ

                  สงเสริมความเจริญใหคอยเปนไปตามลําดับดวยความรอบคอบ  ระมัดระวัง  และประหยัดนั้น  ก็เพื่อ
                  ปองกันความผิดพลาดลมเหลว  และเพื่อใหบรรลุผลสําเร็จไดแนนอนบริบูรณ”

                         พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 19 กรกฎาคม 2517
                   จากพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของพระองค นับตั้งแตป 2517 เปนตนมา จะพบวา พระองค

                  ทานไดทรงเนนย้ําแนวทางการพัฒนาที่อยูบนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช การ

                  รูจักความพอประมาณ การคํานึงถึงความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคน
                  ไทยไมใหประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาตามลําดับขั้นตอนที่ถูกตองตามหลักวิชาการ ตลอดจนมี

                  คุณธรรมเปนกรอบในการดํารงชีวิตซึ่งทั้งหมดนี้เปนที่รูกันภายใตชื่อวา เศรษฐกิจพอเพียง
                         การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง มีเปาหมายหลักเพื่อสรางเครือขายเรียนรู ใหมีการนําหลัก

                  เศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนกรอบความคิด เปนแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิต

                  ของคนไทยในทุกภาคสวน
                         วัตถุประสงคของการขับเคลื่อนเพื่อสรางความรูความเขาใจที่ถูกตอง เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจ

                  พอเพียงใหประชาชนทุกคนสามารถนําหลักปรัชญาฯ ไปประยุกตใหไดอยางเหมาะสม และปลูกฝง

                  ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการดํารงชีวิตใหอยูบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนําไปสูการปรับ
                  แนวทางการพัฒนาใหอยูบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง เปนการเสริมพลัง

                  ใหประเทศไทยสามารถพัฒนาไปไดอยางมั่นคงภายใตกระแสโลกาภิวัฒน โดยใหความสําคัญกับการสราง
                  ฐานรากทางเศรษฐกิจและสังคมใหเขมแข็งรักษาความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติตางๆ ตลอดจน

                  สามารถปรับตัวพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ไดอยางเทาทัน และนําไปสูความอยูเย็นเปนสุขของ

                  ประชาชนชาวไทย
                         การดําเนินการตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น นอกเหนือจากที่ทรงทดลองและ

                  ปฏิบัติจริงในสวนจิตรลดาฯ และโครงการพระราชดําริตาง ๆ แลว ไดมีผูสนใจนํามาใชเปนหลักในการ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69