Page 66 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 66

59



                  วิเคราะหดูวา ในตัวครูนั้นมีความไมพอเพียงในดานใดบาง เพราะการวิเคราะหปญหาจะทําใหรูและเขาใจ

                  ปญหา ที่เกิดจากความไมพอเพียง รวมทั้งควรใหเด็กมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหาดวย โดยการ

                  วิเคราะหนี้ตองดําเนินไปบนพื้นฐานของความรูและคุณธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมนั้น เปนสิ่งที่ควร

                  ปลูกฝงใหเกิดขึ้นในใจเด็กใหไดกอน ผานกิจกรรมที่ครูเปนผูคิดขึ้นมา โดยครูในแตละโรงเรียนจะตองมานั่ง

                  พิจารณากอนวา จะเริ่มตนปลูกฝง แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากจุดไหน ทุกคนควรมารวมกัน

                  คิดรวมกันทํา สามัคคีกันในกระบวนการหารือ

                             หลังจากที่ครูไดคนหากิจกรรมที่จะปลูกฝงแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว ครูควร

                  จะตองตั้ง เปาหมายการสอนกอนวาครูจะสอนเด็กใหรูจักพัฒนาตนเองไดอยางไรโดยอาจเริ่มตนสอนจาก

                  กิจกรรมเล็กๆนอยๆ ที่สามารถเริ่มตนจากตัวเด็กแตละคนใหไดกอน เชน การเก็บขยะ  การประหยัด
                  พลังงาน ฯลฯ เพื่อใหเด็กไดเรียนรูถึงความเชื่อมโยงระหวางปจจัย ที่ตนเองมีตอสิ่งแวดลอมภายนอกใน
                  ดานตางๆ 4 มิติ

                         ในสวนของการเขาถึงนั้น เมื่อครูเขาใจแลว ครูตองคิดหาวิธีที่จะเขาถึงเด็ก พิจารณาดูกอนวาจะ


                  สอดแทรกกิจกรรมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง เขาไปในวิธีคิดและในวิชาการตางๆ ไดอยางไรทั้งนี้
                  อาจจัดกิจกรรมกลุมใหนักเรียนไดรวมกันคิด รวมกันทํา รูจักแบงหนาที่กันตามความสามารถของเด็กใน


                  แตละชวงชั้น เชน ในกิจกรรมการเก็บขยะเพื่อรักษาความสะอาดของโรงเรียนนั้น ครูอาจจัดกิจกรรม
                  สําหรับเด็กในแตละชวงชั้น คือ


                         ชวงชั้นที่ 1 สรางกิจกรรมที่สนับสนุนใหเด็กชวยกันเก็บขยะ (ใหเด็กรูหนาที่ของตน ในระดับ
                  บุคคล)


                         ชวงชั้นที่ 2 สรางกิจกรรมที่สนับสนุนใหเด็กชวยกันเก็บขยะและนับขยะ (ใหรูจักการวิเคราะห
                  และรูถึงความเชื่อมโยงของตนเองกับสมาชิกคนอื่นๆ ในโรงเรียน)


                         ชวงชั้นที่ 3 สรางกิจกรรมที่สอนใหเด็กรูจักเชื่อมโยงกับชุมชนภายนอกรอบๆ โรงเรียน เชน

                  สรางกิจกรรมที่สอนใหเด็กรูจักแบงแยกขยะ รวมมือกับชุมชนในการรักษาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ที่โรงเรียน

                  และชุมชนของเขาตั้งอยูดวย

                          กิจกรรมทั้งหมดนี้สําคัญคือ ตองเนนกระบวนการมีสวนรวมของทุกฝาย โดยสถานศึกษาควร

                  ตั้งเปาใหเกิดการจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรกเขาไปในกระบวนการเรียนรู

                  สอนใหเด็กพึ่งตนเองใหไดกอนจนสามารถเปนที่พึ่งของคนอื่นๆในสังคมไดตอไป

                         การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง  สามารถดําเนินการไดใน 2 สวน ไดแก สวนที่ 1

                  เกี่ยวของกับการบริหารสถานศึกษา สวนที่ 2 เปนการจัดการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งสวนที่ 2 นี้ประกอบดวย

                  การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรและสาระเรียนรูในหองเรียนและประยุกตหลัก

                  เศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71