Page 42 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 42

42



                          4.  ใหผลดีตอรางกาย ทําใหแข็งแรง มีพละกําลัง
                          5.  ชวยใหสมาธิ และจิตใจปลอดโปรง คลายเครียด
                          ถาผูอานสนใจจะออกกําลังกาย หรือเลนกีฬา แตยังไมรูวาจะใชวิธีใด ลองตรวจสอบจากคุณสมบัติตาม

                          หลักการดังตอไปนี้

                          1.  การออกกําลังกาย / กีฬาที่ดี ตองมีจังหวะการหายใจสม่ําเสมอ
                          2.  ไมมีการกระแทก หรือแบงแรง หรืออดกลั้นการหายใจ
                          3.  ผูเลนตองรูคุณคา ผลประโยชนของการออกกําลังกาย

                          4.  ผูเลนตองสนุกที่จะทํา ทําดวยความเต็มใจ พึงพอใจ
                          5.  ผูเลนตองเกิดการเรียนรู และทําดวยตนเอง
                          6.  เมื่อเลนแลวตองเหนื่อยอยางสบายใจ


                   3.2 หลักการและรูปแบบการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ

                          หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพเปนการเสริมการทํางานของปอด หัวใจ ระบบการไหลเวียนของเลือด
                   ความแข็งแรงของกลามเนื้อ และขอตอ ซึ่งจะชวยใหรางกายแข็งแรงสมบูรณ รวมทั้งสุขภาพจิตดี
                                 รูปแบบของการออกกําลังกาย แบงออกไดดังนี้

                                 1.  การออกกําลังกายโดยการเลน
                                 2.  การออกกําลังกายโดยการทํางาน

                                 3.  การออกกําลังกายโดยการบริหารรางกาย
                          1.  การออกกําลังกายโดยการเลน คือ การเลนเกมกีฬาตาง ๆ ที่ชื่นชอบ เชน เดิน วิ่ง วายน้ํา
                          2.  การออกกําลังกายโดยการทํางาน นอกจากจะไดงานแลว ยังทําใหกลามเนื้อไดมีการเคลื่อนไหวจาก

                              การทํางาน เพิ่มความแข็งแรงใหกับสุขภาพ อาทิ การทํางานบาน ทําสวนดอกไม หรือผลไม
                          3.  การออกกําลังกายโดยการบริหารรางกาย โดยแสดงทาทางตาง ๆ เพื่อเปนการบริหารรางกาย หรือ
                              เฉพาะสวนที่ตองการใหกลามเนื้อกระชับ อาทิ การบริหารแบบโยคะ หรือแอโรบิค

                          หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ คือ การออกกําลังกายชนิดที่เสริมสรางความอดทนของปอด หัวใจ
                   ระบบไหลเวียนเลือด รวมทั้งความแข็งแรงของกลามเนื้อ ความออนตัวของขอตอ ซึ่งจะชวยใหรางกายแข็งแรง

                   สมบูรณ สงางาม และสุขภาพจิตดี
                          การออกกําลังกายแบบแอโรบิค เปนกิจกรรมที่ไดรับการยอมรับ และเปนที่นิยมกันอยางแพรหลายทั่ว
                   โลก ในดานการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ (Exercise For Health) โดยยึดหลักปฏิบัติงาย ๆ ดังนี้

                          1.  ความหนัก ควรออกกําลังกาย (Intensity) ใหหนักถึงรอยละ 70 ของอัตราการเตนสูงสุดของหัวใจแต
                              ละคน โดยคํานวณไดจากคามาตรฐานเทากับ 170 ลบดวยอายุของตนเอง คาที่ไดคืออัตราการเตน
                              ของหัวใจคงที่ที่เหมาะสม ที่ตองรักษาระดับการเตนของหัวใจนี้ไวชวงระยะเวลาหนึ่งที่ออกกําลัง

                              กาย
                          2.  ความนาน (Duration) การออกกําลังกายอยางตอเนื่องนานอยางนอย 20 นาที ขึ้นไปตอครั้ง

                          3.  ระยะผอนคลายรางกายหลังฝก (Cool Down) ประมาณ 5 นาที เพื่อยืดเหยียดกลามเนื้อ และความ
                              ออนตัวของขอตอ

                          รวมระยะเวลาที่ออกกําลังกายติดตอกันทั้งสิ้น อยางนอย 20 – 30 นาทีตอวัน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47