Page 41 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 41

41



                   สวนตาง ๆ ของรางกาย ขณะที่ออกกําลังกาย อาทิ การวิดพื้น การยกน้ําหนัก การดึงขอ เหมาะกับผูที่มีความ
                   ตองการสรางความแข็งแรงกลามเนื้อเฉพาะสวนของรางกาย อาทิ นักเพาะกาย หรือนักยกน้ําหนัก

                          3.  การออกกําลังกายแบบใหกลามเนื้อทํางานเปนไปอยางสม่ําเสมอ ตลอดการเคลื่อนไหว
                   (Isokinetic Exercise) อาทิ การถีบจักรยานอยูกับที่ การกาวขึ้นลงแบบขั้นบันได หรือการใชเครื่องมือทาง
                   ชีวกลศาสตร เหมาะกับการใชทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา หรือผูที่มีความสมบูรณทางรางกายเปน

                   สวนใหญ
                          4.  การออกกําลังกายแบบไมตองใชออกซิเจนในระหวางที่มีการเคลื่อนไหว (Anaerobic Exercise)

                   อาทิ วิ่ง 100 เมตร กระโดดสูง ปฏิบัติกันในหมูนักกีฬาที่ทําการฝกซอม หรือแขงขัน จึงไมเหมาะกับบุคคลทั่วไป
                          5.  การออกกําลังกายแบบใชออกซิเจน (Aerobic Exercise) คือ จะเปนลักษณะที่มีการหายใจเขา –
                   ออก ในระหวางที่มีการเคลื่อนไหว อาทิ การวิ่งจ็อกกิ้ง การเดินเร็ว หรือการวายน้ํา นิยมกันมากในหมูของนักออก

                   กําลังกาย นักวิทยาศาสตรการกีฬา ตลอดจนวงการแพทย สามารถบงบอกถึงสมรรถภาพรางกายของบุคคลนั้น ๆ
                   ไดเปนอยางดี



                   3.1 ขั้นตอนในการออกกําลังกาย

                          การออกกําลังกายแตละรูปแบบขึ้นอยูกับความตองการ และความพอใจของผูที่ตองการกระทํา ซึ่งจะ
                   สงผลใหรางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี และเปนการสรางภูมิคุมกันโรคไดอยางวิเศษ โดยไมตองพึ่งวิตามิน หรือ
                   อาหารเสริมที่มีราคาแพงในยุคเศรษฐกิจแบบพอเพียง

                          ตราบใดก็ตาม ถามนุษยยังมีการเคลื่อนไหว การกีฬา หรือการออกกําลังกายยอมเขามามีบทบาทที่จะ
                   สงเสริมการเคลื่อนไหวใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ฉะนั้น การกีฬาจึงมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับการดํารงชีวิต

                   ในยุคปจจุบัน

                          ขั้นตอนในการจัดแนะนําใหคนออกกําลังกาย และเลนกีฬา
                          1.  ตองใหความรูกับผูเลน เพื่อใหเขาใจหลักการ เหตุผล ขอจํากัด ขอควรระวังของการ

                   ออกกําลังกาย / กีฬา
                          2.  ตองปลูกฝงใหเกิดเจตคติที่ดีตอการออกกําลังกาย
                          3.  ตองฝกใหเกิดทักษะ เมื่อเลนเปนจนชํานาญทําไดคลองแคลว จึงจะอยากเลนตอไป

                          4.  ตองรวมกิจกรรมสม่ําเสมอ
                          5.  กิจกรรมนั้นตองสรางใหเกิดสมรรถภาพทางกายที่เปลี่ยนไปในทางดีขึ้น เชน แข็งแรง อดทน
                              คลองตัว รวดเร็ว และมีการตัดสินใจดีขึ้น

                          การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี และกิจกรรมหนักเพียงพอ ตองฝกใหหัวใจเตนประมาณ 120 – 130
                   ครั้งตอนาที สําหับผูใหญทั่วไปที่มีสุขภาพดี หรือทําใหตองใชพลังงานจากการออกกําลังกายวันละ 285 แคลอรี่
                   หรือ 2000 กิโลแคลอรี่ / สัปดาห

                          การจัดโครงการ หรือรูปแบบการออกกําลังกายที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้
                          1.  ตองทําใหผูเลนไดใชความคิด สติปญญา

                          2.  ชวยใหผูเลนไดรูจักสมาชิกมากขึ้น ชวยกระชับสัมพันธไมตรี
                          3.  ใหผลดีตออารมณ สนุกสนาน เพลิดเพลิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46