Page 38 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 38

38



                   ยิ่งขึ้น หากขาดการออกกําลังกายที่ถูกตอง ในทางตรงขามการนําเอารูปแบบและวิธีการออกกําลังกายที่ถูกตองมา
                   ปฏิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ จะสามารถแกไขทรวดทรงใหกลับคืนดีขึ้น ดังจะเห็นไดจากในทางการแพทย ไดมี
                   การนําเอาวิธีการออกกําลังกายมาใชในการฟนฟูสภาพ และสมรรถภาพของผูปวยในระหวางการบําบัดควบคูกับ

                   วิธีการบําบัดอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่มีปญหาในการเคลื่อนไหว หรือความออนแอของระบบกลามเนื้อ
                                 4. ผลที่เกี่ยวของกับสุขภาพทั่วไป เชื่อวาเมื่อการทํางานของอวัยวะตางๆ มีประสิทธิภาพที่ดีจะ

                   สงผลใหสุขภาพโดยทั่วไปดีขึ้น โดยเฉพาะความตานทานโรค หรือภูมิตานทานตอโรคของบุคคลที่มากขึ้น ดังจะ
                   เห็นไดจากการศึกษาเปรียบเทียบชวงเวลาของการเกิดการเจ็บปวย ระหวางนักกีฬากับบุคคลทั่วไปจะพบวา
                   นักกีฬาที่เกิดจากการเจ็บปวยจาการติดเชื้อ จะมีระยะเวลาในการฟนตัวและเกิดโรคแทรกซอนนอยกวาบุคคล

                   โดยทั่วไป

                   สรุป

                                 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ เปนการเคลื่อนไหวของรางกายที่ใชกลามเนื้อมัดใหญ เชน
                   กลามเนื้อขา ลําตัว แขน ใหมีการเคลื่อนไหวที่เร็วขึ้น ทําใหอัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น หรือเหนื่อยขึ้นอยาง
                   ตอเนื่อง อยางนอยสัปดาหละ 3 วันๆ ละ 20-60 นาที แลวแตความเหนื่อยนั้นมากหรือนอย ถาเหนื่อยมากก็ใชเวลา

                   นอย แตถาเหนื่อยนอยก็ใชเวลามากขึ้น ซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนตอรางกาย คือ มีการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหเกิด
                   ความแข็งแรงอดทนของการทํางานของปอด หัวใจ ระบบไหลเวียนโลหิต กลามเนื้อ กระดูก เอ็น ขอตอ และสงผล
                   ใหรางกายมีความแข็งแรง เพิ่มความตานทานของการเกิดโรค ชวยลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ความดัน

                   โลหิตสูง เบาหวาน โรคอวน ไขมันในเสนเลือด ฯลฯ
                                 การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ จะใหประโยชนตอรางกายดังนี้

                                 1. ระบบไหลเวียนโลหิต หัวใจ ปอด ทํางานดีขึ้น จะชวยปองกันโรคหัวใจโรคความดันโลหิต
                                 2. รางกายมีการอดทน แข็งแรง กระฉับกระเฉง ทํางานไดนานโดยไมเหนื่อย

                                 3. ชวยปองกันโรคกระดูก ขอเสื่อม และยังทําใหกระดูก ขอ เอ็นแข็งแรง
                                 4. ชวยผอนคลายความเครียด และชวยใหนอนหลับดีขึ้น
                   2.3 ผลกระทบจาการขาดการออกกําลังกาย
                                 จากการศึกษาในเรื่องผลกระทบของการขาดการออกกําลังกายในวัยเด็ก วัยหนุมสาว และวัย

                   กลางคนขึ้นไป สรุปลักษณะเดนๆ ที่เกิดขึ้นไดดังนี้

                   1. ผลกระทบในวัยเด็ก
                                 ผลกระทบจากการขาดการออกกําลังกายของเด็กในวัยนี้ มีลักษณะดังนี้
                                 1.ดานการเจริญเติบโต และทรวดทรง พบวานอกจากการบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลัก

                   โภชนาการแลว การออกําลังกายยังมีสวนชวยกระตนใหกระดูกมีการเจริญที่เหมาะสมตามวัย ทั้งในดานความยาว
                   และความหนา เนื่องจากรางกายสามารถดึงธาตุแคลเซียมที่มีในอาหารมาชวยสรางเสริมโครงกระดูกไดมากขึ้น
                   นั่นเอง แตในบางกรณีอาจพบวา มีเด็กบางกลุมที่ไมคอยไดออกําลังกาย แตมีอาหารการกินอุดมสมบูรณ อาจมี

                   สวนสูง และน้ําหนักตัวมากกวาเด็กในวัยเดียวกันโดยเฉลี่ย แตก็พบวาสวนใหญแลวรางกายมักจะมีการสะสม
                   ไขมันมากเกิน (อวน) มีกระดูกเล็ก หัวใจมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับน้ําหนักตัว และทําใหทรวดทรงรูปรางที่เห็นมี

                   ความผิดปกติเกิดขึ้น เชน อวนลงพุง มีเขาชิด หรือขาโกง เปนตน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43