Page 39 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 39

39



                                 2.ดานสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย พบวาเด็กที่ขาดการออกกําลังกายจะมีความตานโรคต่ํา
                   เจ็บปวยไดงาย และระยะการฟนตัวในการเจ็บปวยก็มักจะมีระยะเวลานานกวาเด็กที่ออกกําลังกายเปนประจํา ซึ่ง

                   จะมีความสัมพันธกับระดับสมรรถภาพทางกาย เพราะสมรรถภาพทางกายเปนผลมาจากการออกกําลังกาย ดังนั้น
                   หากขาดการออกกําลังกายยอมสงผลใหสมรรถภาพทางกายต่ําลง เมื่อสมรรถภาพทางกายต่ําจะสงผลให

                   องคประกอบในดานสุขภาพต่ําดวยเชนกัน
                                 3.ดานสังคมและสภาพของจิตใจ พบวาเด็กที่ขาดการออกกําลังกายมักเปนเด็กที่ชอบเก็บตัว
                   และขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ตรงกันขามกับกลุมที่ชอบออกกําลังกาย และเลนกีฬา จะมีความเชื่อมั่นในตนเอง
                   และไดเรียนรูพฤติกรรมทางสังคมกับกลุม ทําใหรูแนวทางในการปรับตัวเขากับสังคมที่เปนหมูคณะไดดีขึ้น

                   นอกจากนี้เด็กที่ขาดการออกกําลังมักจะมีนิสัยไมชอบออกกําลังกายเมื่อเขาสูวัยรุนและวัยผูใหญ
                                 4.ดานการเรียน พบวาเด็กที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดีจะมีผลการเรียนรูที่ดีกวาเด็กที่มี

                   สมรรถภาพทางกายต่ํา ซึ่งสนับสนุนใหเห็นวาการขาดการออกกําลังกายจะสงผลเสียตอการเรียนรูของเด็กดวย

                   2.ผลกระทบในวัยหนุมสาว
                                 ชวงวัยนี้เปนชวงที่ตอเนื่องจากวัยเด็ก และเชื่อมตอกับวัยกลางคน ถือวาเปนวัยแหงการเจริญ
                   พันธหากขาดการออกกําลังกาย ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะคลายกับผลกระทบในวัยเด็ก คือสมรรถภาพทางกายต่ํา
                   สุขภาพทั่วไปไมดี การทํางานของระบบตางๆ โดยเฉพาะระบบไหลเวียนเลือดจะผิดปกติ รวมไปถึงบุคลิกภาพที่

                   อาจมีความไมเหมาะสม และสงผลเสียตอการแสดงออกทางสังคมดวย

                   3.ผลกระทบในวัยกลางคนขึ้นไป
                                 ชวงวัยนี้เปนบุคคลที่มีอายุตั้งแต 35 ปขึ้นไป และถือวาเปนชวงของวัยเสื่อม โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                   หากขาดการออกกําลังกายดวยวิธีที่ถูกตองเหมาะสม ความผิดปกติที่เกิดขึ้นมักแสดงออกในลักษณะอาการความ
                   ผิดปกติของรางกาย ซึ่งเปนอาการของการเกิดโรคตางๆ ไดแก โรคประสาทเสียดุลยภาพ โรคความดันเลือดสูง
                   โรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ โรคอวน โรคเบาหวาน และโรคที่เกี่ยวของกับขอตอกระดูก เปนตน









                   สรุป
                                 การเลนกีฬาตามหลักวิทยาศาสตร เปนการกระทําที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบตางๆ

                   ภายในรางกายใหมีสุขภาพที่ดีขึ้น การออกกําลังกายมีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย ชวยให
                   กระดูก     มีความแข็งแกรง อวัยวะตาง ๆ อาทิ ปอด ไต หัวใจ แข็งแรง ชวยลดการเปนโรค ความดันโลหิตสูง
                   โรคไขมันในเสนเลือดสูง ๆ การออกกําลังกายประจําสม่ําเสมอ จึงมีความสําคัญ และเพิ่มภูมิตานทานโรคไดอยาง

                   ดียิ่ง นักวิทยาศาสตรการกีฬาไดแบงประเภทของการออกกําลังกายได 5 ชนิด คือ
                                 1.การออกกําลังกายแบบเกร็งกลามเนื้ออยูกับที่ไมมีการเคลื่อนไหว
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44