Page 40 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 40

40



                                 2.การออกกําลังกายแบบมีการยืด – หดตัวของกลามเนื้อ
                                 3.การออกกําลังกายแบบใหกลามเนื้อทํางานเปนไปอยางสม่ําเสมอ
                                 4.การออกกําลังกายแบบไมตองใชออกซิเจนในระหวางมีการเคลื่อนไหว

                                 5.การออกกําลังกายแบบใชออกซิเจน

                   ประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกายและการเลนกีฬา จําแนกไดดังนี้
                                 1.ทางดานรางกาย

                                         1.1 ชวยเสริมสรางสมรรถภาพทางดานรางกายใหเปนผูที่แข็งแรง มีประสิทธิภาพใน
                   การทํางาน สรางความแข็งแกรงของกลามเนื้อ
                                         1.2 ชวยทําใหระบบตางๆ ภายในรางกายเจริญเติบโตแข็งแรง มีประสิทธิภาพในการ

                   ทํางาน อาทิ ระบบการไหลเวียนของเลือด ระบบหายใจ และระบบการยอยอาหาร เปนตน
                                 2.ทางดานอารมณ
                                         2.1 ชวยสามารถควบคุมอารมณไดเปนอยางดีไมวาจะอยูในสภาพเชนไร

                                         2.2 ชวยใหคนที่มีอารมณเบิกบาน ยิ้มแยมแจมใส
                                         2.3 ชวยผอนคลายความตึงเครียดทางสมอง และอารมณไดเปนอยางดี
                                 3.ทางดานจิตใจ

                                         3.1 ชวยใหเปนคนที่มีจิตใจบริสุทธิ์มองโลกในแงดี
                                         3.2 ชวยใหเปนคนที่มีจิตใจเขมแข็ง กลาเผชิญตอปญหาอุปสรรคตางๆ

                                         3.3 ชวยใหเกิดความเชื่อมั่น ตัดสินใจไดดี
                                 4.ทางดานสังคม
                                         4.1 เปนผูที่มีระเบียบวินัย สามารถอยูในสภาพแวดลอมตางๆ ได

                                         4.2 เปนผูที่เขากับสังคม เพื่อนฝูง และบุคคลทั่วไปไดเปนอยางดี ไมประหมา หรือ
                   เคอะเขิน

                                         4.3 เปนผูที่ชวยสรางความสัมพันธอันดีระหวางสังคมตอสังคม และประเทศตอ
                   ประเทศ

                   เรื่องที่ 3 รูปแบบ และวิธีการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ

                          การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย และการเลนกีฬาตามหลักวิทยาศาสตร เปนการกระทําที่กอใหเกิดการ

                   เปลี่ยนแปลงของระบบตาง ๆ ภายในรางกายที่ตองทํางานหนักเพิ่มมากขึ้น แตเปนผลดีตอสุขภาพรางกาย ซึ่ง
                   นักวิทยาศาสตรการกีฬา ไดแบงประเภทของการออกกําลังกายออกเปน 5 ประเภท คือ

                          1.  การออกกําลังกายแบบเกร็งกลามเนื้ออยูกับที่ ไมมีการเคลื่อนไหว (Isometric Exercise) ซึ่งจะ
                   ไมมีการเคลื่อนที่ หรือมีการเคลื่อนไหวของรางกาย อาทิ การบีบกําวัตถุ การยืนตนเสา หรือกําแพงเหมาะกับผูที่
                   ทํางานนั่งโตะเปนเวลานานจนไมมีเวลาออกกําลังกาย แตไมเหมาะสมกับรายที่เปนโรคหัวใจ หรือโรคความดัน

                   โลหิตสูง เปนการออกกําลังกายที่ไมไดชวยสงเสริมสมรรถภาพทางกายไดอยางครบถวน
                          2.  การออกกําลังกายแบบมีการ ยืด – หดตัวของกลามเนื้อ (Isotonic Exercise) จะมีการเคลื่อนไหว
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45