Page 78 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 78

78



                          อาหารเนื้อสัตวสด เปนอาหารที่มีความเสี่ยงสูง เพราะมีปจจัยเอื้อตอการเนาเสียไดงาย คือมี
                   ปริมาณสารอินทรียสูง มีปริมาณน้ําสูง ความเปนกรดดางเหมาะสมในการเจริญเติบโตของ

                   เชื้อจุลินทรีย

                          การเก็บเนื้อสัตวสดที่ถูกสุขลักษณะ คือตองลางทําความสะอาดแลวจึงหั่นหรือแบง

                   เนื้อสัตวเปนชิ้นๆขนาดพอดีที่จะใชในการปรุงประกอบอาหารแตละครั้งแลวจึงเก็บในภาชนะที่
                   สะอาดแยกเปนสัดสวนเฉพาะสําหรับเนื้อสัตวสดที่ตองการใชใหหมด ภายใน 24 ชั่วโมงสามารถ

                   เก็บไวในอุณหภูมิตูเย็นระหวาง 5 องศาเซลเซียส -7 องศาเซลเซียสในขณะที่เนื้อสัตวสดที่ตองการ

                   เก็บไวใชนาน (ไมเกิน7วัน)ตองเก็บไวในอุณหภูมิตูแชแข็ง อุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส ทั้งนี้
                   เมื่อจะนํามาใชจําเปนจะตองนํามาละลายในไมโครเวฟ แตถาละลายในน้ําเย็นจะตองเปลี่ยนน้ําทุก

                   30 นาที เพื่อใหอาหารยังคงความเย็นอยูและน้ําที่ใชละลายไมเปนแหลงสะสมของเชื้อจุลินทรียที่

                   อาจจะปนเปอนมาทําใหมีโอกาสเพิ่มจํานวนไดมากขึ้นจนอาจจะเกิดเปนอันตรายได

                          สรุปอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บอาหารเนื้อสัตวสดคืออุณหภูมิตูเย็นต่ํากวา 7 องศา
                   เซลเซียสในกรณีที่จะใชภายใน 24 ชั่วโมง และต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิแชแข็ง) ในกรณีที่

                   จะใชภายใน 7 วันซึ่งเปนอุณหภูมิที่เชื้อจุลินทรียยังคงดํารงชีวิตอยูไดแตมีอัตราการเจริญเติบโตต่ํา

                   จนถึงไมมีการเจริญเติบโตทําใหสามารถเก็บรักษาเนื้อสัตวใหสด ใหม สะอาด ปลอดภัย
                          2.6 ภาชนะบรรจุอาหารสําคัญอยางไร

                          ภาชนะบรรจุอาหารเปนปจจัยสําคัญที่เสี่ยงตอการปนเปอนเชื้อโรค สารเคมีที่เปนพิษกับ

                   อาหารที่พรอมจะบริโภค ทั้งนี้ สามารถจะกอใหเกิดการปนเปอนไดทุกขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนการ
                   เก็บอาหารดิบ ขั้นตอนการเสิรฟใหกับผูบริโภค

                          ขั้นตอนการเก็บอาหารดิบถาภาชนะบรรจุทําดวยวัสดุที่เปนพิษหรือภาชนะที่ปนเปอนเชื้อ

                   โรคก็จะทําใหอาหารที่บรรจุอยูปนเปอนไดโดยเฉพาะภาชนะบรรจุอาหารเนื้อสัตวสด เมื่อใชแลว
                   ตองลางทําความสะอาดใหถูกตองกอนจะนํามาบรรจุเนื้อสัตวสดใหมเพราะอาจจะเปนแหลงสะสม

                   ของเชื้อจุลินทรียไดงายขั้นตอนการปรุงประกอบอาหารถาภาชนะอุปกรณที่ใชในการปรุง ประกอบ

                   อาหาร ถาภาชนะอุปกรณที่ใชในการปรุงประกอบมีการปนเปอนดวยสารเคมีที่เปนพิษ ก็สามารถ

                   ปนเปอนอาหารที่ปรุงประกอบไดเชน ตะแกรงทาสีบรอนดเวลาปงปลา สีบรอนด และสารตะกั่วก็
                   อาจจะปนเปอนกับเนื้อปลาไดใชภาชนะพลาสติกออนใสน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสาร

                   พลาสติกออกมากับน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสารพลาสติกออกมากับน้ําสมสายชูได

                          ขั้นตอนการเสิรฟอาหารพรอมบริโภคอาหารปรุงสําเร็จถาภาชนะที่ใชลางไมสะอาดมีการ

                   ปนเปอนเชื้อจุลินทรียสารเคมีที่เปนอันตรายก็จะปนเปอนอาหารจนอาจกอใหเกิดอันตรายกับ
                   ผูบริโภคได
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83