Page 11 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 11

๒




              ระบบประสาทและกลามเนื้อ ความอดทนของระบบหายใจและไหลเวียนเลือดและระบบพลังงานที่ใช
              ในการแขงขันแตละประเภทกีฬา เปนตน รวมทั้งสาเหตุที่นําไปสูการเสื่อมสภาพของระบบการทํางาน

              ของอวัยวะตางๆ ภายในรางกาย
                        ๓.   ชีวกลศาสตร (Sports Biomechanics) คือ ศาสตรที่วาดวยการทํางานของ

              กลามเนื้อ กระดูก เอ็น และขอตอ เพื่อนําไปสูการใชแรงในการเคลื่อนไหวหรือปฏิบัติทักษะอยางไร
              ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ในแตละชนิดหรือประเภทกีฬา ซึ่งนําไปสูการพัฒนาหรือปรับปรุงแกไข

              ขอบกพรองทางดานเทคนิคทักษะกีฬาแตละบุคคลไดอยางกลมกลืนกับระดับความสามารถที่เปนจริง
              ของนักกีฬาผูนั้นมิใชตองทําตามหรือเลียนแบบแชมป โดยที่มิไดเรียนรูสภาพพื้นฐาน การฝกซอมและ

              ความแตกตางของรางกายในแตละบุคคล
                        ๔.   ทักษะและการฝกซอมกีฬา (Sports Training) คือ ศาสตรที่ใหความรูหลักการ

              ในการกําหนดความหนักเบา รูปแบบวิธีการฝก เขาไวในโปรแกรมการฝกซอมไดอยางถูกตอง
              เหมาะสมกับนักกีฬาแตละบุคคล โดยจะตองพิจารณาและคํานึงถึงอายุ เพศ วัย ประสบการณ
              ความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้งระบบพลังงาน สมรรถภาพทางกาย เฉพาะประเภทกีฬา

              ความสามารถในการเรียนรูรับรูของนักกีฬาแตละบุคคล เพื่อนําไปสูการวางแผนการฝกซอมในแตละ
              ชวงเวลาไดอยางถูกตองเหมาะสมกับนักกีฬาแตละบุคคล

                        ๕.   โภชนาการทางการกีฬา (Nutrition) คือ ศาสตรที่ใหความรูรายละเอียดเกี่ยวกับ
              คุณคาของอาหารแตละชนิด และรูจักเลือกรับประทานอาหารใหถูกตอง ไดสัดสวนทั้งในดานปริมาตร

              และคุณภาพในแตละชวงของการฝกซอมและแขงขันซึ่งจะมีผลตอการใชพลังงานในการเคลื่อนไหว
              การเก็บสํารองพลังงานไวในกลามเนื้อ  การชดเชยพลังงานในระหวางการฝกซอมและแขงขัน

              และภายหลังการฝกซอมแขงขันซึ่งจะชวยเสริมโครงรางและความสามารถของรางกายใหคงสภาพ
              แข็งแกรงยิ่งขึ้น

                        ๖.   จิตวิทยาการกีฬา คือ ศาสตรที่ใหความรูเกี่ยวกับกระบวนการคิด การควบคุมทักษะ
              การเคลื่อนไหวและทักษะกีฬา รวมถึงการตัดสินใจในแตละสถานการณของการฝกซอมและแขงขัน
              ไดอยางถูกตองเปนผลดีตอเกมสการแขงขันและการแสดงออกซึ่งทักษะและความสามารถของนักกีฬา

              ไดอยางสอดคลองสัมพันธกับเหตุการณที่เกิดขึ้น
                        ๗.   เวชศาสตรการกีฬา (Sports Psychology) คือ ศาสตรที่ใหความรูเกี่ยวกับการปองกัน
              บําบัดรักษาและฟนฟูสภาพรางกายใหกับนักกีฬาทั้งในสภาวะปกติและในระหวางการฝกซอม  เพื่อชวย

              เสริมใหสมรรถภาพทางกายอยูในสภาวะที่สมบูรณและพรอมที่จะใชงานไดดีที่สุด
                        ๘.   เทคโนโลยีทางการกีฬา (Sports Technology) คือ ศาสตรที่ใหความรูเกี่ยวกับ

              ประดิษฐการใชเครื่องมือและอุปกรณชวยสนับสนุนในการพัฒนาสงเสริมตลอดจนการแกไขปญหา
              ขอบกพรองใหกับนักกีฬาเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพใหกับผูฝกสอนกีฬาและนักกีฬา
              รวมทั้งการวิเคราะหขอมูลการเคลื่อนไหวทางดานเทคนิคทักษะ การประเมินผลและรายงานผลการ
              แขงขันที่เปนประโยชนถูกตอง รวดเร็วใหกับผูฝกสอนกีฬา นักกีฬา และผูชม
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16