Page 13 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 13

๔




              จึงชวยสงเสริมสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาหลายแง อาทิ การคัดเลือกนักกีฬา การฝกซอม
              การบํารุงตัวและการประเมินผลจากการฝกซอม เปนตน

                        ๔.   การบาดเจ็บระหวางฝกซอมและแขงขันกีฬา มีลักษณะจําเพาะซึ่งแตกตางจากการ
              บาดเจ็บธรรมดา การปฏิบัติอยางถูกตองเปนขั้นตอน จะชวยใหนักกีฬาที่บาดเจ็บกลับมาเลนไดใหม

              อยางมีประสิทธิภาพ



              ¡ÒÃÍÍ¡¡ ÓÅѧ¡ÒÂà¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾

                        การออกกําลังกาย หมายถึง กิจกรรมที่กระทําแลวทําใหรางกายมีสุขภาพที่ดี กอให
              เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบตางๆ ภายในรางกายที่ตองทํางานหนักเพิ่มมากขึ้น แตเปนผลดี

              ตอสุขภาพรางกาย มีความฟต การออกกําลังกายไมไดหมายถึงการตองไปแขงขันกีฬากับผูอื่น
              แตการออกกําลังกาย เปนการแขงขันกับตัวเอง หลายคนกอนจะออกกําลังกายมักจะอางเหตุผลของ
              การไมออกกําลังกาย เชน ไมมีเวลา ไมมีสถานที่ ปญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ปญหาเกี่ยวกับอากาศ ทั้งหมด

              เปนขออางที่จะไมออกกําลังกาย แตลืมไปวาการออกกําลังกาย อาจจะใหผลดีมากกวาสิ่งที่เขาเสียไป

              การออกกําลังกายใหสุขภาพดี  ไมตองใชเวลามากมาย  เพียงแควันละ  ๓๐  นาที  ก็พอ
              การออกกําลังจะทําใหรูปรางดูดี  กลามเนื้อแข็งแรง  นอกจากนั้น  การออกกําลังกายจะทําให
              กลามเนื้อหัวใจและหลอดเลือดแข็งแรง ปองกันโรคตางๆ ทําใหรางกายสดชื่น มีพลังที่จะทํางาน

              และยังสามารถลดความเครียดไดดวย



              · ÓäÁ¡ÒÃÍÍ¡¡ ÓÅѧ¡Ò¨֧ÊÒÁÒöʋ§àÊÃÔÁÊØ¢ÀҾ䴌?

                        เนื่องจากการออกกําลังกาย จะทําใหสมรรถภาพทางกายของเราดีขึ้น รวมทั้งเปนการ
              ปองกันโรคอีกดวย ซึ่งสมรรถภาพทางกายที่สําคัญมี ๔ ประการ ไดแก

                        ๑.   ความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ พัฒนาสมรรถภาพโดยการประกอบกิจกรรม
              การออกกําลังกายที่มีการเคลื่อนไหวตอเนื่องใชระยะเวลานานพอสมควร เชน วายนํ้า วิ่ง กระโดดเชือก

              ฯลฯ
                        ๒.   ความยืดหยุน (ความออนตัว) พัฒนาสมรรถภาพโดยการประกอบกิจกรรมที่มี

              การยืดเหยียดของกลามเนื้อ เชน เลนโยคะ ฯลฯ
                        ๓.   ความแข็งแรงและความอดทนของกลามเนื้อ พัฒนาสมรรถภาพโดยการประกอบ

              กิจกรรมการออกกําลังกายที่มีการหดเกร็งของกลามเนื้อ เชน การยกนํ้าหนัก การดันพื้น การลุก-นั่ง
              ฯลฯ

                        ๔.   องคประกอบของรางกาย สมรรถภาพทางกายเปนตัวบงบอกวาเรามีภาวะอวน
              หรือไม หากเราตองการมีองคประกอบรางกายที่สมสวน ก็จําเปนตองควบคุมทั้งการออกกําลังกาย
              การมีกิจกรรมทางกาย และโภชนาการ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18