Page 16 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 16

๗


                                                       º··Õè ò



                                      ¡ÒÃÂ×´àËÂÕ´¡ÅŒÒÁà¹×éÍ (Stretching)



                 ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃÐจําº·

                            ๑.  ผูเรียนสามารถบอกการยืดเหยียดกลามเนื้อมีขอหามและขอควรระวังอยางไร

                            ๒.  ผูเรียนสามารถบอกหลักการและขั้นตอนการยืดเหยียดกลามเนื้ออยางถูกตอง
                            ๓.  ผูเรียนสามารถปฏิบัติการยืดเหยียดกลามเนื้อทั้งแบบหยุดนิ่งและเคลื่อนไหว/เคลื่อนที่ได

                            ๔.  การยืดเหยียดกลามเนื้อแบบหยุดนิ่ง
                            ๕.  การยืดเหยียดกลามเนื้อแบบเคลื่อนไหว/เคลื่อนที่



                 ʋǹนํา

                            ในปจจุบันมีการนําความรูทางวิทยาศาสตรการกีฬามาใชในวงการเพื่อพัฒนาความสมบูรณ
                 แข็งแรงของรางกาย คงไมมีนักกีฬาคนใดไมรูจักคําวา การยืดเหยียดกลามเนื้อ หรือ Stretching

                 ชวยปองกันการบาดเจ็บจากการออกกําลังกายและเลนกีฬาได การยืดเหยียดกลามเนื้อเปนขั้นตอน
                 ที่สําคัญมากทั้งกอนและหลังการเลนกีฬา เพราะจะชวยลดการบาดเจ็บของกลามเนื้อและเอ็นขอตอได

                            กลามเนื้อแตละมัดประกอบดวยใยกลามเนื้อจํานวนมากรวมกัน มีลักษณะคลายลูกรักบี้
                 สวนหัวและทายเปนเอ็นกลามเนื้อทําหนาที่เชื่อมกลามเนื้อเขากับกระดูก เมื่อกลามเนื้อหดตัวจะดึง

                 กระดูกเขามาใกลกันมากขึ้น ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวขอตอตางๆ ของรางกาย



                 ¡ÒÃÂ×´àËÂÕ´¡ÅŒÒÁà¹×éÍÁÕ¢ŒÍËŒÒÁáÅТŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧÍ‹ҧäÃ

                            ๑.   งดการยืดเหยียดกลามเนื้อในบริเวณที่มีอาการบาดเจ็บรุนแรง หรืออยูในระยะอักเสบ
                 ของกลามเนื้อและเอ็นกลามเนื้อ

                            ๒.   ไมควรกลั้นหายใจ ในขณะทําการยืดเหยียดกลามเนื้อ
                            ๓.   ไมควรยืดเหยียดกลามเนื้อดวยความเร็วหรือใชแรงเหวี่ยงที่เกิดจากการเคลื่อนไหว

                 รางกาย  เพราะจะทําใหเกิดแรงกระชากที่เอ็นกลามเนื้อและตัวกลามเนื้อ  มีโอกาสทําใหเกิด
                 การบาดเจ็บหรือฉีกขาดได

                            ๔.   ไมควรยืดเหยียดกลามเนื้อจนกระทั่งรูสึกเจ็บปวดมากเนื่องจากจะทําใหเกิด
                 การฉีกขาดของกลามเนื้อได

                            ๕.   ในการยืดเหยียดกลามเนื้อตองยืดเหยียดดวยความระมัดระวัง ไมใหเกินชวงของ
                 การเคลื่อนไหว
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21