Page 19 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 19

๑๐




                              ๑.๒  การยืดเหยียดกลามเนื้อแบบหยุดนิ่ง กลุมกลามเนื้ออก ไหลและหลัง





















                                  - การยืดเหยียดกลามเนื้อหัวไหลดานหนา และหนาอก ประสานมือทั้งสองไว
              ดานหลังระดับเอว พยายามเหนี่ยวแขนยกขึ้นอยางชาๆ ขณะที่ลําตัวยังตรงอยู พยายามยกแขนขึ้น

              ใหมากที่สุด

















                                  - การยืดเหยียดกลามเนื้อหัวไหลดานหลัง  ยกแขนเอื้อมมือไปแตะไหล
              ดานตรงขาม ใชมืออีกขางดันที่ขอศอก ใหยืดไปดานหลังใหมากที่สุด ทําทั้งซาย-ขวาในลักษณะเดียวกัน
              สิ่งที่สําคัญคือตําแหนงการใหแรงดันควรจะอยูบริเวณขอศอก ไมใชอยูที่ปลายแขน เพื่อจะเหนี่ยวดึงให
              ขอตอหัวไหล


















                                  - การยืดเหยียดกลามเนื้อหัวไหลดานขางหรือบา  การยืดเหยียดหัวไหล

              ดานขางสามารถทําไดหลายลักษณะ เชน ไขวแขนไปดานหลังและใชมืออีกขาง จับที่ขอมือหรือขอศอก
              แลวดึงรั้งใหแขนขางที่ไขวหลังยืดไปฝงตรงขาม
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24