Page 38 - หลักโภชนา
P. 38

๓๑




                                                        บทที่ ๔


                                  แนวคิดและความสําคัญของโภชนบําบัด








                 วัตถุประสงคการเรียนรูประจําบท
                          ๑.  นักเรียนนายสิบตํารวจเขาใจแนวคิดและความสําคัญของโภชนบําบัด

                          ๒. นักเรียนนายสิบตํารวจเรียนรูหลักการใหโภชนบําบัดที่เหมาะสมกับเฉพาะโรคตางๆ
                          ๓. นักเรียนนายสิบตํารวจสามารถประยุกตความรูที่ไดรับไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน



                 โภชนบําบัด (therapeutic nutrition)

                          หมายถึง การใชอาหารและหลักโภชนาการในการรักษาหรือบรรเทาอาการของโรค
                 ซึ่งเปนการดัดแปลงอาหารใหเหมาะสมกับภาวะของรางกาย เพื่อจะไดใชอาหารนั้นเปนเครื่องชวย

                 ใหรางกายฟนจากโรคภัยไขเจ็บ อาหารที่ใชในโภชนบําบัดเปนอาหารของคนปกติที่ถูกตอง
                 ตามหลักโภชนาการ แตดัดแปลงลักษณะบางประการของอาหารซึ่งมีความจําเปนในการใหผูปวย

                 หายจากโรค ปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากการกินอาหารไมไดเต็มที่หรือกิน
                 ไมถูกตอง



                 ความสําคัญของโภชนบําบัด

                          ความสําคัญของโภชนบําบัดสําหรับผูปวยโรคเรื้อรัง สามารถสรุปไดดังนี้
                          ๑. ปองกันและแกไขภาวะขาดสารอาหาร ดวยภาวะโรคเรื้อรังมีปจจัยเสี่ยงทําใหเกิด

                 การขาดสารอาหารไดงาย เชน ผูที่ไมรูสึกตัวมาสามารถรับประทานอาหารทางปากได การดัดแปลง
                 อาหารใหอยูในรูปของเหลว และใหอาหารทางสายใหอาหาร โดยผานเขาทางจมูกไปยังกระเพาะ

                 อาหารไดเพียงพอกับความตองการของรางกาย
                          ๒. ชวยบรรเทาและควบคุมอาการแสดงของโรค อาหารมีสวนสําคัญอยางมากในการ
                 ชวยบรรเทา และชวยควบคุมอาการแสดงของโรค เชน การใหอาหารออนในผูปวยที่มีแผลในกระเพาะ

                 อาหารและลําไส ซึ่งอาหารออนจะชวยใหกระเพาะและลําไสไมตองทํางานหนัก ทําใหอาการของ

                 โรคบรรเทาลง การหลีกเลี่ยงอาหารที่มีนํ้าตาลมากในผูปวยโรคเบาหวาน จะชวยควบคุมระดับนํ้าตาล
                 ในเลือด เปนตน
                          ๓. ควบคุมนํ้าหนักใหอยูในเกณฑปกติ ในผูปวยที่มีภาวะอวน โรคเบาหวาน โรคความดัน

                 โลหิตสูง การจํากัดอาหารไขมันสูง และรับประทานอาหารที่ใหพลังงานตํ่า จะชวยควบคุมนํ้าหนัก
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43