Page 29 - satit psm
P. 29

การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน

                       สํานักงานการศึกษาและมาตรฐานการศึกษาไดใหความหมายไววา  การประเมินการอาน  คิด

               วิเคราะห  และเขียน  เปนการประเมินศักยภาพของผูเรียนในการอานจากหนังสือ  เอกสาร  และสื่อตางๆ
               เพื่อหาความรู  เพิ่มพูนประสบการณ  เพื่อความสุนทรีย  และประยุกตใช  แลวนํามาคิดวิเคราะหเนื้อหา

               สาระที่อาน  นําไปสูการแสดงความคิดเห็น  การสังเคราะหสรางสรรค  การแกปญหาในเรื่องตางๆ  และ

               ถายทอดความคิดนั้นดวยการเขียนที่มีสํานวนภาษาถูกตอง  มีเหตุผลและลําดับขั้นตอนในการนําเสนอ

               สามารถสรางความเขาใจแกผูอานไดอยางชัดเจนตามระดับความสามารถในแตละระดับชั้น

               ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอาน  คิดวิเคราะห  และเขียน
               ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๓

                       ขอบเขตการประเมิน
                       การอานจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ใหขอมูลสารสนเทศ  ขอคิด  ความรูเกี่ยวกับสังคม

               และสิ่งแวดลอมที่เอื้อใหผูอานนําไปคิดวิเคราะห  วิจารณ  สรุปแนวคิดคุณคาที่ได  นําไปประยุกตใชดวย

               วิจารณญาณ  และถายทอดเปนขอเขียนเชิงสรางสรรคหรือรายงานดวยภาษาที่ถูกตองเหมาะสม  เชน

               อานหนังสือพิมพ  วารสาร  หนังสือเรียน  บทความ  สุนทรพจน  คําแนะนํา  คําเตือน  แผนภูมิ  ตาราง
               แผนที่

                       ตัวชี้วัดความสามารถในการอาน  คิดวิเคราะห  และเขียน

                              ๑.  สามารถคัดสรรสื่อที่ตองการอานเพื่อหาขอมูลสารสนเทศไดตามวัตถุประสงค
               สามารถสรางความเขาใจและประยุกตใชความรูจากการอาน

                              ๒.  สามารถจับประเด็นสําคัญและประเด็นสนับสนุน  โตแยง

                              ๓.  สามารถวิเคราะห  วิจารณ  ความสมเหตุสมผล  ความนาเชื่อถือ  ลําดับความและ

               ความเปนไปไดของเรื่องที่อาน
                              ๔.  สามารถสรุปคุณคา  แนวคิด  แงคิดที่ไดจากการอาน

                              ๕.  สามารถสรุป  อภิปราย  ขยายความแสดงความคิดเห็น  โตแยง  สนับสนุน  โนมนาว

               โดยการเขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ  เชน  ผังความคิด  เปนตน


               ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ – ๖

                       ขอบเขตการประเมิน
                       การอานจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ใหขอมูลสารสนเทศ  ความรู  ประสบการณแนวคิด

               ทฤษฎี  รวมทั้งความงดงามทางภาษาที่เอื้อใหผูอานวิเคราะห  วิพากษ  วิจารณ  แสดงความคิดเห็นโตแยง

               หรือสนับสนุน  ทํานาย  คาดการณ  ตลอดจนประยุกตใชในการตัดสินใจ  แกปญหา  และถายทอดเปน
               ขอเขียนเชิงสรางสรรค  รายงาน  บทความทางวิชาการอยางถูกตองตามหลักวิชา  เชน  อานบทความ

               วิชาการ  วรรณกรรมประเภทตางๆ


                                                          ๒๗
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34