Page 110 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 110

์
                                                 ิ
           โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
                ิ
                                                           ็
                              ั
                  (2) กรณีศึกษาคดีเกี่ยวกับทรัพย์
                       คณะผู้จัดทำได้ยกกรณีศึกษาการลักทรัพย์จากเจ้าหน้าที่ตำรวจ
           ได้เล่าพอเป็นสังเขปว่า ได้รับแจ้งจากผู้เสียหายว่าทีวีในบ้านหาย จากนั้นตำรวจได้ไปตรวจ

                                                                         ่
           สถานที่เกิดเหตุและได้ทำการสืบสวนสอบสวน จนพบว่า ผู้ที่กระทำผิดเคยมีอาชพเป็นชาง
                                                                    ี
           ไฟฟ้ามาก่อน มีประสบการณ์ในการซ่อมทีวี และอาศัยว่าตนเองเคยเป็นช่างไฟฟ้า จึงมาขอ
           พักอาศัยอยู่กับน้าซึ่งเปิดร้านรับซ่อม และเนื่องจากครอบครัวของผู้กระทำผิดพ่อแม่ไม่ได้

           อยู่ด้วยกัน เด็กติดยาเสพติด น้าเห็นใจจึงให้ช่วยงานเดินสายไฟ เมื่อทำงานมาได้สักระยะ
           จึงทำให้ประกอบกับมีประสบการณ์ในการใช้ไขควง ซึ่งเมื่อเด็กไม่มีเงินจึงได้เข้าไปงัดแงะ
           บ้านของผู้เสียหายเพื่อขโมยจอทีวี LED ไปขาย  พฤติการณ์คือ ผู้กระทำผิดมาพบบ้าน

           ที่มีหน้าต่างที่เป็นพวกอะลูมิเนียม มีลักษณะงัดง่าย จึงเข้าไปทำการงัดหน้าต่างแล้วเข้าไป
           ขโมยทีวี LED ขนาด 40 ฟุต และหลบหนีไปได้ เมื่อพนักงานสอบสวนเข้าสถานที่เกิดเหตุ
           ก็ทำการถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ และแจ้งกองพิสูจน์หลักฐาน เพื่อให้ดำเนินการหารอย

           ลายนิ้วมือแฝง หรือรอยเท้าต่อไป

                       วัตถุพยานที่สำคัญ

                       1)  รอยลายนิ้วมือแฝง
                       2)  บันได ที่ผู้ต้องหานำมาใช้ปีนกำแพงเพื่องัดบ้าน
                       3)  ภาพจากกล้อง CCTV


                       ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
                       ลายนิ้วมือแฝงที่พบไม่สามารถระบุตัวผู้กระทำผิดได้


                   จากการรวบรวมวัตถุพยานที่ได้จากสถานที่เกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ยึดของ
           กลางมาได้และตรวจสอบลายนิ้วมือ จากนั้นนำไปตรวจพิสูจน์เปรียบเทียบกับลายนิ้วมือ

           ซึ่งพบปัญหาในการตรวจพิสูจน์ลายนิ้วมือแฝงที่พบไม่สามารถระบุตัวผู้กระทำผิดได้ ดังนั้น
           เจ้าหน้าที่จึงต้องหาพยามหาหลักฐานอื่น ๆ มาประกอบให้ได้มากที่สุด เพื่อหาตัวผู้กระทำ
           ผิดมาลงโทษ ซึ่งรวบรวมจนได้ภาพจากกล้อง CCTV โดยไล่ตามแต่ละจุด พบว่า มีชาย



                       คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน   109
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115