Page 106 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 106
ั
ิ
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
ิ
์
็
ส่วนที่ 5
กรณีศึกษา
คณะผู้จัดทำได้คัดเลือกกรณีศึกษาที่ประสบความสำเร็จจากการเรียนรู้ผ่าน
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) และเรียนรู้จากความผิดพลาด (Bad Practice)
ในการจัดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิติวิทยาศาสตร์ในคดีเด็กและเยาวชน
โดยนำเสนอรายละเอียดพฤติการณ์การกระทำความผิดและขั้นตอนการทำงานของ
เจ้าหน้าที่ตำรวจ พร้อมทั้งเขียนแผนภาพสรุปขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
ในการจัดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิติวิทยาศาสตร์ในคดีเด็กและเยาวชน
กรณีศึกษาที่จะนำเสนอมีดังนี้
1. ประสบการณ์จากการเรียนรู้ผ่านวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
ประกอบด้วย
(1) กรณีศึกษาคดีเกี่ยวกับยาเสพติด
(2) กรณีศึกษาคดีเกี่ยวกับทรัพย์
(3) กรณีศึกษาคดีเกี่ยวกับเพศ
(4) กรณีศึกษาความผิดพิเศษ (พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดทาง
คอมพิวเตอร์)
2. ประสบการณ์จากการเรียนรู้จากความผิดพลาด (Bad Practice)
ประกอบด้วย
(1) กรณีศึกษาคดีข่มขืนเด็กที่แคมป์คนงาน
(2) กรณีศึกษาคดีผู้ต้องสงสัยวัยเยาว์
คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน 105