Page 121 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 121
112
การใชพจนานุกรมจึงไมใชเรื่องยากเย็นอะไร
ขอแนะนําขั้นตอนงาย ๆ ดังนี้
ขั้นที่ 1 หาพจนานุกรมมาใชในมือหนึ่งเลมเปดอานคํานําอยางละเอียด เราตองอานคํานํา
เพราะเขาจะอธิบายลักษณะและวิธีใชพจนานุกรมเลมนั้นอยางละเอียด
ขั้นที่ 2 ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ที่จําเปนตองรู เพื่อความสะดวกในการเปดใช เชน อักษรยอ คํายอ
เปนตน เพราะเมื่อเปดไปดูคํากับความหมายแลวเขาจะใชอักษรยอตลอดเวลา โปรดดูตัวอยางจาก
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2525 หนา 9 - 10
อักษรยอที่ใชพจนานุกรม
(1) อักษรยอในวงเล็บ (...) บอกที่มาของคํา
(2) อักษรหนาบทนิยาม บอกชนิดของคําตามหลักไวยากรณ
(3) อักษรยอในวงเล็บหนาบทนิยาม บอกลักษณะของคําที่ใชเฉพาะแหง
(4) อักษรยอหนังสืออางอิง
(5) คําวา “ด” ที่เขียนตอทายคํา หมายความวาใหเปดดูในคําอื่น เชน กรรม ภิรมย ดูกรรภิรมย
บัญชีอักษรยอที่ใชในพจนานุกรมนี้
(1) อักษรยอในวงเล็บ บอกที่มาของคํา
ข = เขมร ต = ตะเลง ล = ละติน
จ = จีน บ = เบงคอลี ส = สันสกฤต
ช = ชวา ป = ปาลิ (บาลี) อ = อังกฤษ
ญ = ญวน ฝ = ฝรั่งเศษ ฮ = ฮินดู
ญ = ญี่ปุน ม = มาลายู
(2) อักษรยอหนาบทนิยาม บอกชนิดของคําตามไวยากรณ คือ :
ก. = กริยา ว. = วิเศษณ (คุณศัพทหรือกริยาวิเศษณ)
น. = นาม ส. = สรรพนาม
นิ = นิบาต สัน = สันธาน
บ. = บุรพบท อ. = อุทาน
(3) อักษรยอในวงเล็บหนาบทนิยาม บอกลักษณะของคําที่ใชเฉพาะแหง คือ
(กฎ) คือ คําที่ใชในกฎหมาย
(กลอน) คือ คําที่ใชในบทรอยกรอง
(คณิต) คือ คําที่ใชในคณิตศาสตร
(จริย) คือ คําที่ใชในจริยศาสตร
(ชีว) คือ คําที่ใชในชีววิทยา