Page 117 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 117
108
ลักษณะของสํานวนไทย
1. สํานวนไทยมีลักษณะที่มีความหมายโดยนัย โดยปกติความหมายของคํามีอยางนอย
2 ประการ คือ
1.1 ความหมายโดยอรรถ ไดแก ความหมายพื้นฐานของคํานั้น ๆ โดยตรง เชนคําวา “กิน”
ความหมายพื้นฐานที่ทุกคนเขาใจก็คือ อาการที่นําอะไรเขาปากเคี้ยวแลวกลืนลงไปในคอ เชน กินขาว
กินขนม เปนตน
1.2 ความหมายโดยนัย ไดแก การนําคํามาประกอบกันใชในความหมายที่เพิ่มจากพื้นฐาน
เชน คําวา
กินดิบ - ชนะโดยงายดาย
กินโตะ - รุมทําราย
กินแถว - ถูกลงโทษทุกคนในพวกนั้น
กินปูนรอนทอง - ทําอาการพิรุธขึ้นเอง
2. สํานวนไทยมีลักษณะมีความหมายเพื่อใหตีความ มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็น
อยูในตัว เชน เกลือเปนหนอน กินปูนรอนทอง ตกบันไดพลอยโจน งมเข็มในมหาสมุทร เปนตน
3. สํานวนไทย มีลักษณะเปนความเปรียบเทียบหรือคําอุปมา เชน ใจดําเหมือนอีกา
เบาเหมือนปุยนุน รักเหมือนแกวตา แข็งเหมือนเพชร เปนตน
4. สํานวนไทยมีลักษณะเปนคําคมหรือคํากลาว เชน หนาชื่นอกตรม หาเชากินค่ํา หนาซื่อใจคด
เปนตน
5. สํานวนไทย มีลักษณะเปนโวหารมีเสียงสัมผัสคลองจองกัน หรือบางทีก็ย้ําคํา เชน ขาวแดง
แกงรอน ขุนของหมองใจ จับมือถือแขน บนบานศาลกลาว กินจุบกินจิบ ประจบประแจง ปากเปยก
ปากแฉะ อิ่มอกอิ่มใจ เปนตน
ตัวอยางสํานวนไทย
1. สํานวนที่มีเสียงสัมผัส สํานวนเหลานี้มักจะมีจํานวนคําเปนจํานวนคู ตั้งแต 4 คํา
จนถึง 12 คําดังนี้
1.1 เรียง 4 คํา เชน ขาวแดงแกงรอน คอขาดบาดตาย โงเงาเตาตุน ฯลฯ
1.2 เรียง 6 คํา เชน คดในของอในกระดูก ยุใหรําตําใหรั่ว นกมีหูหนูมีปก ฯลฯ
1.3 เรียง 8 คํา เชน กินอยูกับปาก อยากอยูกับทอง ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง
ความรูทวมหัว เอาตัวไมรอด เปนตน
1.4 เรียง 10 คํา เชน คนรักเทาผืนหนัง คนชังเทาผืนเสื่อ คบคนใหดูหนา ซื้อผาใหดูเนื้อ
ดักลอบตองหมั่นกู เจาชูตองหมั่นเกี้ยว เปนตน
1.5 เรียง 12 คํา เชน ปลูกเรือนตามใจผูอยู ผูกอูตามใจผูนอน มีเงินเขานับเปนนอง
มีทองเขานับเปนพี่ เลนกับหมาหมาเลียปาก เลนกับสากสากตอยหัว