Page 118 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 118

109


                       2.  สํานวนที่ไมมีเสียงสัมผัส สํานวนเหลานี้มีมากมาย สวนมากมีตั้งแต 2 คําขึ้นไป จนถึง 8 คํา เชน
                         2.1   เรียง 2 คํา เชน  กันทา แกเผ็ด  เขาปง ตกหลุม  ตายใจ ฯลฯ

                         2.2  เรียง 3 คํา กางขวางคอ  เกลือเปนหนอน คลุมถุงชน ควาน้ําเหลว ฯลฯ
                         2.3  เรียง 4 คํา เชน กิ่งทองใบหยก กิ้งกาไดทอง กินปูนรอนทอง น้ําผึ้งหยดเดียว

               นอนตายตาหลับ ขาวใหมปลามัน เปนตน

                         2.4   เรียง 5 คํา เชน ขนหนาแขงไมรวง  ตีงูใหหลังหัก จับปูใสกระดง ฯลฯ
                         2.5   เรียง 6 คํา เชน กลืนไมเขาคายไมออก นิ้วไหนรายตัดนิ้วนั้น บานเมืองมีขื่อมีแป

               พลิกหนามือเปนหลังมือ

                         2.6   เรียง 7 คํา เชน กินบนเรือนขี้รดหลังคา  นกนอยทํารังแตพอตัว  ตําน้ําพริกละลายแมน้ํา
               สิบปากวาไมเทาตาเห็น  เรื่องขี้หมูราขี้หมาแหง ฯลฯ

                       สํานวน หมายถึง กลุมของวลี คํา หรือกลุมคําที่นํามาใชในความหมายที่แตกตางไปจากความหมาย

               เดิม ความหมายที่เกิดขึ้นมักจะเปนความหมายในเชิงอุปมา หรือเชิงเปรียบเทียบ ไมไดใหคติธรรม แตจะเปน
               ความหมายที่กระชับและลึกซึ้ง เชน สํานวนวา เรื่องกลวย ๆ คําวา กลวย ๆ ไมไดหมายถึง ผลไม แตหมายถึง

               งาย ๆ เรื่องไมยากเปนเรื่องงาย ๆ สํานวนภาษาไทยอาจจะประกอบคําตั้งแต 1 คําขึ้นไปจนถึงหลายคําหรือ
               เปนกลุม

               ตัวอยางเชน

                               ปากหวาน             =  พูดเพราะ
                               ลูกหมอ             =  คนเกาของสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง

                               หญาปากคอก          =  เรื่องงาย ๆ ที่คิดไมถึง
                               กงกรรมกงเกวียน      =  กรรมสนองกรรม

                               พกหินดีกวาพกนุน   =  ใจคอหนักแนนดีกวาหูเบา

                       การใชสํานวนไปประกอบการสื่อสารนั้น  ผูใชตองรูความหมายและเลือกใชใหเหมาะสมกับเพศ
               โอกาสและสถานการณ เชน

                               เฒาหัวงู           =  มักจะใชเปรียบเทียบ หมายถึง ผูชายเทานั้น

                               ไกแกแมปลาชอน    =  มักใชเปรียบเทียบกับผูหญิงเทานั้น
                               ขบเผาะ              =  มักใชกับผูหญิงเทานั้นไมใชกับผูชาย

                       คําพังเพย มีความหมายลึกซึ้งกวาสํานวน ซึ่งจะหมายถึง ถอยคําที่กลาวขึ้นมาลอย ๆ เปนกลาง ๆ
               มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็นอยูในตัว มีความหมายเปนคติสอนใจคําพังเพยเมื่อนําไปตีความแลว

               สามารถนําไปใชประกอบการพูด หรือเขียนใหเหมาะสมกับเรื่องที่เราตองการถายทอด หรือสื่อความหมาย

               ในการสื่อสาร เชน
                         ชี้โพรงใหกระรอก          =       การแนะนําใหคนอื่นทําในทางไมดี

                         ปลูกเรือนตามใจผูอยู     =       จะทําอะไรใหคิดถึงผูที่จะใชสิ่งนั้น
                         รําไมดีโทษปโทษกลอง     =       คนทําผิดไมยอมรับผ ิดกลับไปโทษคนอื่น
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123