Page 115 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 115

106


               กิจกรรม
                       1.  ใหผูเรียนรวบรวมคําศัพทบัญญัติจากหนังสือพิมพและหนังสืออื่น ๆ  แลวบันทึกไวในสมุด

               เพื่อจะไดนําไปใชในการพูดและเขียนเมื่อมีโอกาส
                       2.  ผูสอนยกคํามาถามที่เห็นสมควรใหผูเรียนชวยกันแยกวาเปนคําสมาสหรือคําประสม

                       ประโยคในภาษาไทย ประโยคตองมีความครบ สมบูรณ ใหรูวา ใครทําอะไร หรือกลาวอีกอยางหนึ่ง

               วาประโยคตองประกอบดวยประธานและกริยาเปนอยางนอย
                       เราสามารถแยกประโยคไดเปน 3 ชนิด คือ

                       ก.  ประโยคแจงใหทราบ หรือประโยคบอกเลา ประโยคชนิดนี้อาจจะเปนประโยคสั้น ๆ มีเพียง

               คํานามทําหนาที่ประธาน คํากริยาทําหนาที่เปนตัวแสดง เชน คนเดิน นกบิน แตบางทีอาจจะเปนประโยค
               ยาว ๆ มีความสลับซับซอนยิ่งขึ้น ซึ่งมีคํานาม คํากริยา หลายคํา ก็ได

                       ถาประโยคแจงใหทราบนั้นมีเนื้อความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ  เชน  ไมมี  หามิได  อยูดวย  เชน

               เขาไมมารวมประชุมในวันนี้
                       ข.  ประโยคถามใหตอบหรือประโยคคําถาม เปนประโยคที่ผูพูดใชถามขอความ เพื่อใหผูฟงตอบ

               รูปประโยคคําถามจะมีคํา หรือไหม ใคร อะไร ที่ไหน กี่ เมื่อไร อยางไร ฯลฯ แตถาประโยคถามใหตอบเปน
               ประโยคถามใหตอบที่มีเนื้อความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธอยูดวย

                       ค.  ประโยคบอกใหทําหรือประโยคคําสั่ง เปนประโยคที่ผูพูดใชเพื่อใหผูฟงกระทําอาการบางอยาง

               ตามความตองการของผูพูด การบอกใหผูอื่นทําตามความตองการของตนนั้นอาจตองใชวิธีขอรองออนวอน
               วิงวอน เชิญชวน บังคับ ออกคําสั่ง ฯลฯ



               การเรียงลําดับในประโยค

                       การเรียงลําดับในภาษาไทยมีความสําคัญมากเพราะถาเรียงลําดับตางกันความสัมพันธของคํา
               ในประโยคจะผิดไป เชน

                       สุนัขกัดงู    สุนัขเปนผูทํา     งูเปนผูถูกกระทํา

                       งูกัดสุนัข    งูเปนผูทํา      สุนัขเปนผูถูกกระทํา


               โครงสรางของประโยค

                       ประโยคในภาษาไทยแบงเปน 3 ชนิด คือ
                       ก.  ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มุงกลาวถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงสิ่งเดียวและสิ่งนั้นแสดงกิริยา

               อาการหรืออยูในสภาพอยางใดอยางหนึ่งแตเพียงอยางเดียว ประโยคความเดียวแบงออกเปนสวนสําคัญ

               2 สวน  คือภาคประธานและภาคแสดง  เชน
                       ผูหญิงชอบดอกไม ถึงแมจะมีรายละเอียดเขาไปในประโยค ก็ยังเปนประโยคความเดียว เชน ผูหญิง

               คนนั้นชอบดอกไมสวย
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120