Page 111 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 111

102


                       คําที่นํามาประสมกันจะเปนคําไทยกับคําไทยหรือคําไทยกับคําตางประเทศก็ได เชน
                         -  คําไทยกับคําไทย       โรงเรียน ลูกเขย ผีเสื้อ ไมเทา เปนตน

                         -   คําไทยกับคําบาลี     หลักฐาน (หลักคําไทย ฐานคําบาลี) สภากาชาด
                                                  พลเมือง  ราชวัง ฯลฯ

                         -  คําไทยกับคําสันสกฤต   ทุนทรัพย (ทุนคําไทย ทรัพยคําสันสกฤต)

                         -  คําไทยกับคําจีน       เย็นเจี๊ยบ (เย็นคําไทย เจี๊ยบคําภาษาจีน) หวย
                                                  ใตดิน นายหาง  เกงจีน  กินโตะ  เขาหุน ฯลฯ

                         -  คําไทยกับคําเขมร      ละเอียดลออ  (ละเอียดคําไทย ลออคําเขมร) ของ

                                                    ขลัง เพาะชํา นายตรวจ
                         -   คําไทยกับคําอังกฤษ   เสื้อเชิ้ต  (เสื้อคําไทย เชิ้ตคําอังกฤษ)  พวงหรีด

                                                  เหยือกน้ํา  ตูเซฟ  นายแบงค  ไขกอก  แปปน้ํา  ฯลฯ

                       5.  การสรางคําไทยโดยการนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช  การสรางคําของภาษาอื่นที่นํามาใชใน
               ภาษาไทย ไดแก

                         5.1  การสรางคําของภาษาบาลีและสันสกฤต คือ
                               ก. วิธีสมาส สมาสเปนวิธีสรางศัพทอยางหนึ่งในภาษาบาลี สันสกฤต โดยการนําคําศัพท

               ตั้งแต 2 คําขึ้นไปรวมเปนศัพทใหมศัพทเดียว จะมีลักษณะคลายกับคําประสมของไทย แตคําสมาสนั้น

               เปนคําที่มาขยาย มักจะอยูหนาคําหลัก สวนคําประสมของไทยนั้นคําขยายจะอยูขางหลัง เชน คําวา มหา
               บุรุษ คําวา มหาบุรุษ คําวามหา แปลวา ยิ่งใหญ ซึ่งเปนคําขยาย จะอยูหนาคําหลักคือ บุรุษ ดังนั้น คําวา

               มหาบุรุษ แปลวา บุรุษผูยิ่งใหญ ซึ่งตางจากภาษาไทย ซึ่งสวนมากจะวางคําขยายไวหลังคําที่ถูกขยาย
               ตัวอยางคําสมาสในภาษาไทย

                       พลศึกษา  ประวัติศาสตร  ปริยัติธรรม  กามเทพ  เทพบุตร  สุนทรพจน  วิศวกรรม วิศวกร

               อากาศยาน สวัสดิการ คหกรรมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยากร พิธีกร ชีพจร มหกรรม ประวัติศาสตร
               โทรทัศน  โทรเลข  วารสาร  นิตยสาร  จุลสาร  พิพิธภัณฑ  วินาศกรรม  อุบัติเหตุ  ปญญาชน  รมณียสถาน

               สังฆทาน  กิจกรรม  อุทกภัย วิทยุศึกษา  หัตถศึกษา  เปนตน

                               ข. วิธีลงอุปสรรค วิธีสรางคําในภาษาบาลีและสันสกฤตนั้นมีวิธีลงอุปสรรค (หรือบทหนา)
               ประกอบขางหนาศัพทเพื่อใหไดคําที่มีความหมายแตกตางออกไป ซึ่งไทยเราไดนํามาใชจํานวนมาก เชน

                       อธิ + การ  เปน อธิการ (ความเปนประธาน)  อนุ + ญาต เปน  อนุญาต (การรับรู)
                       อธิ + บดี  เปน อธิบดี (ผูเปนใหญ)   อนุ + ทิน  เปน  อนุทิน (ตามวัน,รายวัน)

                       อป + มงคล   เปน อัปมงคล (ไมมีมงคล)  วิ + กฤต   เปน  วิกฤต (แปลกจากเดิม)

                       อป + ยศ   เปน  อัปยศ (ไมมียศ)     วิ + เทศ   เปน  วิเทศ (ตางประเทศ)

                       คําที่ลงอุปสรรคดังกลาวนี้จัดวาเปนคําสมาส  ทั้งนี้เพราะวิธีลงอุปสรรคเปนการรวบรวมศัพท
               ภาษาบาลีและสันสกฤตเขาดวยกันและบทขยายจะวางอยูหนาบทที่ถูกขยายในภาษาบาลีและสันสกฤต

               การลงอุปสรรคเขาขางหนาคํา เปนวิธีการสมาสวิธีหนึ่ง
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116