Page 109 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 109

100


               จึงทําใหเรายืมคําภาษาอังกฤษมาใชในลักษณะคําทับศัพทอยางแพรหลาย เชน โฮเตล ลอตเตอรี่ เปอรเซ็นต
               บอย โนต กอลฟ ลิฟท สวิตช เบียร ชอลก เบรก กอก เกม เช็ค แสตมป โบนัส เทคนิค เกรด ฟอรม แท็กซี่

               โซดา ปม คอลัมน เปนตน และปจจุบันยังมีภาษาอันเกิดจากการใชคอมพิวเตอรจํานวนหนึ่ง
                       4.  ภาษาเขมร อาจดวยสาเหตุความเปนเพื่อนบานใกลเคียงและมีการติดตอกันมาชานานปะปน

               อยูในภาษาไทยบาง โดยเฉพาะราชาศัพทและในวรรณคดีเชน บังคัล กรรไกร สงบ เสวย เสด็จ ถนอม เปนตน


               กิจกรรม

                       1.  ใหผูเรียนสังเกตและรวบรวม คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาจีน ภาษา

               อังกฤษ และภาษาอื่น ๆ และเราใชกันในการพูดคุยและใชในการสื่อสารมวลชนแลวบันทึกไว เพื่อนําไปใช
               ในการรายงานและการสื่อสารตอไป

                       2.  แบงผูเรียนเปน 2 - 3 กลุม ออกมาแขงกันเขียนภาษาไทยแทบนกระดาษกลุมละ 15 - 20 คํา

               พรอมกับบอกขอสังเกตวาเหตุผลใดจึงคิดวาเปนคําไทย
               การสรางคําขึ้นใชในภาษาไทย

                       การสรางคําในภาษาไทยมีหลายวิธี ทั้งวิธีเปนของเราแท ๆ และวิธีที่เรานํามาจากภาษาอื่น วิธี

               ที่เปนของเราไดแก การผันเสียงวรรณยุกต การซ้ําคํา การซอนคําและการประสมคํา เปนตน สวนวิธีที่นํามา
               จากภาษาอื่น เชน การสมาส สนธิ การเติมอุปสรรค การลงปจจัย ดังจะไดกลาวโดยละเอียดตอไปนี้

                       1.  การผันเสียงวรรณยุกต วิธีการนี้ วรรณยุกตที่ตางออกไปทําใหไดคําใหมเพิ่มขึ้น เชน

                         เสือ  เสื่อ  เสื้อ
                         นา      นา   นา

                         นอง  นอง  นอง
                       2.  การซ้ําคํา คือ การสรางคําดวยการนําเอาคําที่มีเสียงและความเหมือนกันมาซ้ํากัน เพื่อเปลี่ยน

               แปลงความหมายของคําแตกตางไปหลายลักษณะ คือ

                         2.1  ความหมายคงเดิม เขาก็ซนเหมือนเด็กทั่ว ๆ ไป ลูกยังเล็กอยาใหนั่งริม ๆ ไมปลอดภัย
                         2.2  ความหมายเดนชัดขึ้น หนักขึ้นหรือเฉพาะเจาะจงขึ้นกวาความหมายเดิม

                               สอนเทาไหร ๆ ก็ไมเชื่อ กินอะไร ๆ ก็ไมอรอย
                               บางคําตองการเนนความของคําใหมากที่สุดก็จะซ้ํา 3 คําดวยการเปลี่ยนวรรณยุกตของ

               คํากลาง เชน ดีดี๊ดี บางบางบาง รอรอรอ หลอลอหลอ เปนตน

                         2.3  ความหมายแยกเปนสัดสวนหรือแยกจํานวน เชน
                               เก็บกวาดเปนหอง ๆ ไปนะ (ทีละหอง)

                               พูดเปนเรื่อง ๆ ไป (ทีละเรื่อง)

                         2.4  ความหมายเปนพหูพจนเมื่อซ้ําคําแลวแสดงใหเห็นวามีจํานวนเพิ่มขึ้น เชน
                               เขาไมเคยกลับบานเปนป ๆ แลว

                               เด็ก ๆ ชอบเลนซน ใคร ๆ ก็รู
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114