Page 106 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 106

97


                       4.  คําคําเดียวกัน  ในภาษาไทยทําหนาที่หลายหนาที่ในประโยคและมีหลายความหมาย  ซึ่งใน
               หลักภาษาไทยเรียกวา คําพองรูป พองเสียง เชน

                         ไกขันยามเชา

                         เขาเปนคนมีอารมณขัน

                         เธอนําขันไปตักน้ํา

                       ขันในประโยคที่  1 เปนคํากริยาแสดงอาการของไก

                       ขันในประโยคที่  2 หมายถึงเปนคนที่อารมณสนุกสนาน
                       ขันในประโยคที่  3 หมายถึง ภาชนะหรือสิ่งของ

                       เธอจักตอก แตเขา ตอกตะปู
                       ตอกคําแรกหมายถึง สิ่งของ ตอกคําที่ 2 หมายถึง กริยาอาการ

                       จะเห็นวาคําเดียวกันในภาษาไทยทําหนาที่หลายอยางในประโยคและมีความหมายไดหลาย
               ความหมาย ซึ่งเปนลักษณะเดนอีกประการหนึ่งของภาษาไทย

                       5.  ภาษาไทยเปนภาษาเรียงคํา  ถาเรียงคําสลับกันความหมายจะเปลี่ยนไปเชน หลอนเปน

               นองเพื่อนไมใชเพื่อนนอง คําวา “นองเพื่อน” หมายถึง นองของเพื่อน สวน “เพื่อนนอง” หมายถึง เปนเพื่อน
               ของนองเรา (เพื่อนนองของเรา)  โดยปกติ ประโยคในภาษาไทยจะเรียงลําดับประธาน กริยาและกรรม

               ซึ่งหมายถึง ผูทํา กริยาที่ทําและผูถูกกระทํา เชน แมวกัดหนูถาจะมีคําขยายจะตองเรียงคําขยายไวหลังคํา

               ที่ตองการขยาย เชน  แมวดํากัดหนูอวน “ดํา” ขยายแมว และอวนขยายหนู แตถาจะมีคําขยายกริยา
               คําขยายนั้นจะอยูหลังกรรมหรืออยูทายประโยค เชน หมูอวนกินรําขาวอยางรวดเร็ว  คําวา อยางรวดเร็ว

               ขยาย “กิน” และอยูหลัง รําขาว ซึ่งเปนกรรม

                       6.  ภาษาไทยมีคําตามหลังจํานวนนับ ซึ่งในภาษาไทยเรียกวา ลักษณะนาม เชน
                         หนังสือ 2 เลม

                         ไก 10 ตัว
                         ชาง 2 เชือก

                         แห 2 ปาก

                         รถยนต 1 คัน
                       คําวา เลม ตัว เชือก ปาก คัน เปนลักษณะนามที่บอกจํานวนนับของสิ่งของ ซึ่งเปนลักษณะเดนของ

               ภาษาไทยอีกประการหนึ่ง
                       7. ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี หมายถึง มีการเปลี่ยนระดับเสียงได หรือเรียกกันวา “วรรณยุกต”

               ทําใหภาษาไทยมีลักษณะพิเศษ คือ

                         7.1  มีคําใชมากขึ้น เชน เสือ เสื่อ เสื้อ หรือ ขาว ขาว ขาว เมื่อเติมวรรณยุกต ลงไปในคําเดิม
               ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111