Page 108 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 108

99


                         9.3  สรางคําจากการประสมคํา เชน ตู + เย็น เปน ตูเย็น, พัด + ลม เปนพัดลม
                         9.4  สรางคําจากการเปลี่ยนตําแหนงคํา เชน ไกไข - ไขไก, เดินทาง - ทางเดิน

                         9.5  สรางคําจากการเปลี่ยนความเชน นิยาม - เรื่องที่เลาตอ ๆ กันมา, นิยาย - การพูดเท็จ
                         9.6  สรางคําจากการนําภาษาอื่นมาใช เชน กวยเตี๋ยว เตาหู เสวย ฯลฯ

                         9.7  สรางคําจากการคิดตั้งคําขึ้นใหม เชน โทรทัศน พฤติกรรม โลกาภิวัตน

                       10. ภาษาไทยมีคําสรอยเสริมบทเพื่อใชพูดใหเสียงลื่นและสะดวกปากหรือใหเกิดจังหวะนาฟง
               เพิ่มขึ้น ซึ่งในหลักภาษาไทยเราเรียกวา “คําสรอย หรือคําอุทานเสริมบท” เชน

                         เรื่องบาบอคอแตก ฉันไมชอบฟง

                         ฉันไมเออออหอหมกดวยหรอก
                         ไมไปไมเปยกันละ

                       คําแปลก ๆ ที่ขีดเสนใตนั้นเปนคําสรอยเสริมบทเพราะใชพูดเสริมตอใหเสียงลื่นสะดวกปากและ

               นาฟง ซึ่งเราเรียกวา คําสรอยหรืออุทานเสริมบท
                       จาก 1  ถึง  10  ดังกลาว  เปนลักษณะเดนของภาษาไทย  ซึ่งจริง ๆ  แลวยังมีอีกหลายประการ

               ซึ่งสามารถจะสังเกตจากการใชภาษาไทยโดยทั่ว ๆ ไปไดอีก

                       การยืมคําภาษาอื่นมาใชในภาษาไทย


                       ภาษาไทยของเรามีภาษาอื่นเขามาปะปนอยูเปนจํานวนมาก เพราะเปนธรรมชาติของภาษาที่เปน

               เครื่องมือในการสื่อสาร ถายทอดความรูความคิดของมนุษยและภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหนึ่ง ซึ่งสามารถ
               หยิบยืมกันไดโดยมีสาเหตุจากอิทธิพลทางภูมิศาสตร คือ มีเขตแดนติดตอกันอิทธิพลทางประวัติศาสตรที่มี

               การอพยพถิ่นที่อยู หรืออยูในเขตปกครองของประเทศอื่น อิทธิพลทางดานศาสนา ไทยเรามีการนับถือ
               ศาสนาพราหมณ  ศาสนาพุทธ  ศาสนาคริสตและอื่น ๆ  นอกจากนี้อิทธิพลทางการศึกษา  การคาขาย

               แลกเปลี่ยนเทคโนโลยี จึงทําใหเรามีการยืมคําภาษาอื่นมาใชเปนจํานวนมาก เชน

                       1.  ภาษาบาลี สันสกฤต ไทยเรารับพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งใชภาษาสันสกฤตเปนเครื่องมือ
               มากอนและตอมาไดรับพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศมาอีกซึ่งในภาษาบาลีเปนเครื่องมือในการเผยแพรไทย

               จึงรับภาษาบาลีสันสกฤตเขามาใชในภาษาไทยเปนจํานวนมาก เชน กติกา กตเวทิตา กตัญ ู เขต คณะ

               จารีต ญัตติ ทุจริต อารมณ โอวาท เกษียณ ทรมาน ภิกษุ ศาสดา สงเคราะห สัตว อุทิศ เปนตน
                       2.  ภาษาจีน ไทยกับจีนมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดทางดานเชื้อชาติ ถิ่นที่อยูการติดตอคาขาย

               ปจจุบันมีคนจีนมากมายในประเทศไทยจึงมีการยืมและแลกเปลี่ยนภาษาซึ่งกันและกัน ภาษาจีนที่ไทยยืมมา

               ใชเปนภาษาพูดไมใชภาษาเขียน คําที่เรายืมจากภาษาจีนมีมากมายตัวอยางเชน กวยจั๊บ ขิม จับกัง เจง ซวย
               ซีอิ้ว ตั๋ว ทู ชี้ บะหมี่ หาง ยี่หอ หวย บุงกี้ อั้งโล เกาเหลา แฮกึ้น เปนตน

                       3.  ภาษาอังกฤษ ชาวอังกฤษ เขามาเกี่ยวของกับชาวไทยตั้งแตสมัยอยุธยา มีการติดตอคาขาย
               และในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการยกเลิกอํานาจศาลกงสุลใหแกไทยและภาษาอังกฤษเปนที่ยอมรับกันทั่วโลกวา

               เปนภาษาสากลที่สามารถใชสื่อสารกันไดทั่วโลก ประเทศไทยมีการสอนภาษาอังกฤษตั้งแตประถมศึกษา
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113