Page 104 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 104

95


                         1.2  เสียงที่ไมสัมพันธกับความหมาย ในแตละภาษาจะมีมากกวาเสียงที่สัมพันธ กับความหมาย
               เพราะเสียงตาง ๆ  จะมีความหมายวา อยางไรนั้นขึ้นอยูกับขอตกลงกันของคนที่ใชภาษานั้น ๆ  เชน

               ในภาษาไทยกําหนดความหมายของเสียง กิน วานําของใสปากแลวเคี้ยวกลืนลงคอ  ภาษาอังกฤษใชเสียง
               eat (อี๊ท) ในความหมายเดียวกันกับเสียงกิน

                       2.  ภาษาจะเกิดจากการรวมกันของหนวยเล็ก ๆ จนเปนหนวยที่ใหญขึ้น

                         หนวยในภาษา หมายถึง สวนประกอบของภาษาจะมีเสียงคําและประโยค ผูใชภาษาสามารถ
               เพิ่มจํานวนคํา จํานวนประโยคขึ้นไดมากมาย เชน ในภาษาไทยเรามีเสียงพยัญชนะ 21 เสียง เสียงสระ 24

               เสียง เสียงวรรณยุกต 5 เสียง ผูเรียนลองคิดดูวาเมื่อเรานําเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกตมา

               ประกอบกันก็จะไดคํามากมาย  นําคํามาเรียงตอกันก็จะไดวลีและประโยค  เราจะสรางประโยคขึ้นได
               มากมายและหากเรานําประโยคที่สรางขึ้นมาเรียงตอกันโดยวิธีมารวมกัน มาซอนกันก็จะทําใหไดประโยค

               ที่ยาวออกไปเรื่อย ๆ

                       3.  ภาษามีการเปลี่ยนแปลง สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
                         1.  การพูดกันในชีวิตประจําวัน  สาเหตุนี้อาจจะทําใหเกิดการกลมกลืนเสียง เชน เสียงเดิมวา

                           อยางนี้               กลายเปน       อยางงี้
                           มะมวงอกพรอง          กลายเปน       มะมวงอกรอง

                           สามแสน                 กลายเปน       สามเสน

                           สูจนเย็บตา            กลายเปน       สูจนยิบตา
                         2.  อิทธิพลของภาษาอื่น จะเห็นภาษาอังกฤษมีอิทธิพลในภาษาไทยมากที่สุดอยูในขณะนี้ เชน

               มาสาย มักจะใชวามาเลท (late)
                           คําทักทายวา สวัสดี จะใช ฮัลโล (ทางโทรศัพท) หรือเปนอิทธิพลทางดานสํานวน เชน

               สํานวนที่นิยมพูดในปจจุบัน ดังนี้

                           “ไดรับการตอนรับอยางอบอุน” นาจะพูดวา “ไดรับการตอนรับอยางดี” “จับไข” นาจะ
               พูดวา “เปนไข” นันทิดา แกวบัวสาย จะมาในเพลง “เธอ” นาจะพูดวา นันทิดา แกวบัวสาย จะมารองเพลง

               “เธอ”

                         3.  ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม เมื่อมีความเจริญขึ้น ของเกาก็เลิกใช สิ่งใหมก็เขามา
               แทนที่ เชน การหุงขาวสมัยกอนการดงขาวแตปจจุบันใชหมอหุงขางไฟฟา คําวา ดงขาว ก็เลิกใชไปหรือ

               บานเรือนสมัยกอนจะใชไมไผปูพื้นจะเรียกวา “ฟาก” ปจจุบันใชกระเบื้อง ใชปูน ปูแทนคําวาฟากก็เลิกใชไป
               นอกจากนี้ยังมีคําอีกพวกที่เรียกวา คําแสลง เปนคําที่มีอายุในการใชสั้น ๆ จะนิยมใชเฉพาะวัยเฉพาะคนใน

               แตละยุคสมัย เมื่อหมดสมัย หมดวัยนั้น คําเหลานี้ก็เลิกใชไป เชน กิ๊ก จาบ

                         ตัวอยางคําแสลง เชน  กระจอก  กิ๊กกอก  เจาะแจะ  ซา  เวอ  จาบ ฯลฯ
               ลักษณะเดนของภาษาไทย
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109