Page 110 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 110

101


                               ชา ๆ ไดพราสองเลมงาม กิน ๆ เขาไปเถอะ
                               จะเห็นวาคําที่ซ้ํากันจะมีทั้งคํานาม กริยา คําสรรพนามและจะมีการบอกเวลาบอก

               จํานวนดวย
                         2.5  ความหมายผิดไปจากเดิมหรือเมื่อซ้ําแลวจะเกิดความหมายใหมหรือมีความหมายแฝง เชน

                               เรื่องหมู ๆ แบบนี้สบายมาก (เรื่องงาย ๆ)

                               อยู ๆ ก็รองขึ้นมา (ไมมีสาเหตุ)
                       จะเห็นไดวาการนําคํามาซ้ํากันนั้นทําใหไดคําที่มีรูปและความหมายแตกตางออกไป  ดังนั้น

               การสรางคําซ้ําจึงเปนการเพิ่มคําในภาษาไทยใหมีมากขึ้นอยางหนึ่ง

                       3.  การซอนคํา  คือ การสรางคําโดยการนําเอาคําตั้งแตสองคําขึ้นไปซึ่งมีเสียงตางกันแตมี
               ความหมายเหมือนกันหรือคลายคลึงกันหรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย รักใคร

               หลงใหล บานเรือน เปนตน ปกติคําที่นํามาซอนกันนั้นนอกจากจะมีความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกัน

               แลว มักจะมีเสียงใกลเคียงกันดวย ทั้งนี้ เพื่อใหออกเสียงไดงาย สะดวกปาก คําซอนทําใหเกิดคําใหมหรือ
               คําที่มีความหมายใหมเกิดขึ้นในภาษา ทําใหมีคําเพิ่มมากขึ้นในภาษาไทย อันจะชวยใหการสื่อความหมาย

               และการสื่อสารในชีวิตประจําวันมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น  คําที่นํามาซอนกันแลวทําใหเกิดความหมายนั้น
               แบงเปน 2 ลักษณะ คือ

                         3.1  ซอนคําแลวมีความหมายคงเดิม การซอนคําลักษณะนี้จึงนําคําที่มีความหมายเหมือนกัน

               มาซอนกันเพื่อไขความหรือขยายความซึ่งกันและกัน เชน วางเปลา โงเขลา รูปราง ละทิ้ง อิดโรย บาดแผล
               เปนตน

                         3.2  ซอนคําแลวมีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คําซอนที่เปนคําที่เกิดความหมายใหมนี้
               มีลักษณะคือ

                               ก.  ความหมายเชิงอุปมา  เชน  ยุงยาก  ออนหวาน  เบิกบาน  เปนตน

                               ข.  ความหมายกวางออก  เชน  เจ็บไข  พี่นอง  ทุบตี  ฆาฟน  เปนตน
                               ค.  ความหมายแคบเขา  เชน  ใจดํา  ปากคอ  ญาติโยม  หยิบยืม  น้ําพักน้ําแรง  สมสุก

               ลูกไม เปนตน

                       การแยกลักษณะคําซอนตามลักษณะการประกอบคํานั้นจะมีลักษณะคําซอน 2 คําและคําซอน
               มากกวาสองคํา เชน บานเรือน สวยงาม ยากดีมีจน เจ็บไขไดปวย อดตาหลับขับตานอน จับไมไดไลไมทัน

               เปนตน
                       4.  การสรางคําประสม  การสรางคําขึ้นใชในภาษาไทยสวนหนึ่งจะใชวิธีประสมคําหรือวิธีการ

               สรางคําประสม  โดยการนําเอาคําที่มีใชอยูในภาษาไทย  ซึ่งมีรูปคําและความหมายของคําแตกตางกัน

               มาประสมกันเพื่อใหเกิดคําใหม และมีความหมายใหมในภาษาไทย เชน พัดลม ไฟฟา ตูเย็น พอตา ลูกเสือ
               แมน้ํา เรือรบ น้ําหอม น้ําแข็ง เมืองนอก เปนตน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115