Page 116 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 116

107


                       ข.  ประโยคความซอน คือ ประโยคความเดียวที่เพิ่มสวนขยายภาคประธานหรือภาคแสดงดวย
               ประโยค ทําใหโครงสรางของประโยคเปลี่ยนไป แตถาประโยคที่เพิ่มขึ้นนั้นเปนประโยคชวยจํากัดความหมาย

               ของคําถามหรือคํากริยา ก็เปนประโยคซอน เชน
                       ผูหญิงที่นั่งขาง ๆ ฉันชอบดอกไมที่อยูในแจกัน

                       ประโยคที่ชวยจํากัดความหมายของคํานาม “ดอกไม” คือประโยคที่วา “ที่อยูในแจกัน” เปนตน

                       ค.  ประโยคความรวม คือ ประโยคที่มีสวนขยายเพิ่มขึ้นและสวนที่ขยายสัมพันธกับประโยคเดิม
               โดยมีคําเชื่อม และ แตถา ฯลฯ อยูขางหนาหรืออยูขางในประโยคเดิมหรือประโยคที่เพิ่มขึ้น ทําใหรูวา

               ประโยคทั้งสองสัมพันธกันอยางไร เชน

                       ผูหญิงชอบดอกไมสวนเด็กชอบของเลน  เปนประโยคความรวม
                       ประโยคที่เพิ่มขึ้นและสัมพันธกับประโยคเดิมโดยมีคําเชื่อม  “สวน”  มาขางหนาคือ ประโยค

               “เด็กชอบของเลน” เปนตน


               เรื่องที่ 2  ถอยคําสํานวน สุภาษิต คําพังเพย

                       1.  ถอยคําภาษาไทยมีลักษณะพิเศษหลายประการ สามารถเลือกใชใหเหมาะสมในการสื่อสาร

               เพื่อความเขาใจในสิ่งตาง ๆ ไดอยางชัดเจนและตรงเปาหมาย
                       2.  ถอยคําภาษาไทยมีลักษณะเปนศิลปะที่มีความประณีต สละสลวย ไพเราะ ลึกซึ้ง นาคิด นาฟง

               รื่นหู จูงใจและหากนําไปใชไดเหมาะกับขอความเรื่องราวจะเพิ่มคุณคาใหขอความหรือเรื่องราวเหลานั้น

               มีน้ําหนักนาคิด นาฟง นาสนใจ นาติดตามยิ่งขึ้น
                       3.  ถอยคําภาษาไทย  ถารูจักใชใหถูกตองตามกาลเทศะและบุคคลนับวาเปนวัฒนธรรมอันดีงาม

               ของชาติและของผูปฎิบัติ

               ถอยคําสํานวน


                       ถอยคําสํานวน หมายถึง ถอยคําที่เรียบเรียง บางทีก็ใชวาสํานวนโวหาร คําพูดของมนุษยเราแยก
               ออกไปอยางกวาง ๆ เปน 2 อยาง อยางหนึ่งพูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดา พอพูดออกมาก็เขาใจทันที

               อีกอยางหนึ่งพูดเปนเชิงไมตรงไปตรงมา แตใหมีความหมายในคําพูดนั้น ๆ คนฟงเขาใจความหมายทันที

               ถาคําพูดนั้นใชกันแพรหลาย เชน คําวา “ปากหวาน” “ใจงาย” แตถาไมแพรหลายคนฟงก็ไมอาจเขาใจ
               ทันที  ตองคิดจึงจะเขาใจ หรือบางทีคิดแลวเขาใจเปนอยางอื่นก็ได หรือไมเขาใจเอาเลยก็ไดคําพูดเชิงนี้

               เราเรียกวา  “สํานวน”  การใชถอยคําที่เปนสํานวนนั้น  ใชในการเปรียบเทียบบาง  เปรียบเปรยบาง

               พูดกระทบบาง พูดเลนสนุก ๆ บาง พูดเตือนสติใหไดคิดบาง
                       สํานวนไทย หมายถึง ถอยคําที่เรียบเรียงไวตายตัว เนื่องจากใชกันมาจนแพรหลายอยูตัวแลว

               จะตัดทอนหรือสลับที่ไมได เชน สํานวนวา “เก็บเบี้ยใตถุนราน”หมายความวา ทํางานชนิดที่ไดเงินเล็กนอย

               ก็เอา ถาเราเปลี่ยนเปน “เก็บเงินใตถุนบาน” ซึ่งไมใชสํานวนที่ใชกัน คนฟงอาจไมเขาใจหรือเขาใจเปน
               อยางอื่น เชน เก็บเงินฝงไวใตถุนบาน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121