Page 126 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 126

117


                         พระราช ใชนําหนาคํานามที่สําคัญรองลงมา เชน พระราชสาสน พระราชประวัติ พระราชยาน
               พระราชโทรเลข  พระราชวัง  พระราชดํารัส  พระราชบิดา

                         พระ ใชนําหนาคํานามทั่วไปบางคําเชน พระกร พระหัตถ พระเกศา พระอาจารย พระสหาย
               พระเกาอี้ พระเขนย พระยี่ภู พระศอ พระอุทร บางที่ใชพระหรือทรง แทรกเขากลาง เพื่อแตงเปนคํานาม

               ราชาศัพทเชน  กระเปาทรงถือ เครื่องพระสําอาง

                         1.2 คําไทยสามัญ เมื่อใชเปนคําราชาศัพทตองใชคําวา หลวง ตน ทรง พระที่นั่ง ประกอบหลัง
               คํานามนั้น เชน ลูกหลวง เรือหลวง รถหลวง วังหลวง ชางตน มาตน เครื่องตน เรือตน ชางทรง มาทรง

               เรือพระที่นั่ง รถพระที่นั่ง ฯลฯ

                       นอกจากนี้ยังมีคํานามราชาศัพทที่ใชคําไทยนําหนาคําราชาศัพท ซึ่งเปนการสรางศัพทขึ้นใชใน
               ภาษา เชน ผาซับพระพักตร ถุงพระบาท

                       2.  คําสรรพนาม คําสรรพนามราชาศัพทนั้น แบงเปนบุรุษสรรพนามแยกไปตามฐานะของผูใช

               ราชาศัพท เชนเดียวกัน
                          บุรุษที่ 1   (ผูพูดเอง)   หญิง ใช หมอมฉัน ขาพระพุทธเจา

                                                  ชาย ใช กระหมอม เกลากระหมอม ขาพระพุทธเจา
                          บุรุษที่ 2   (ผูพูดดวย)   แยกไปตามฐานะของผูที่พูดดวย เชน

                                                  ใตฝาละอองธุลีพระบาท ใชกับพระมหากษัตริย

                                                  พระบรมราชินีนาถ
                                                  ใตฝาละอองพระบาท ใชกับพระบรมโอรสาธิราช

                                                  ใตฝาพระบาท ใชกับเจานายชั้นรองลงมา
                                                  เจาฟา หรือ เจานายชั้นผูใหญ

                                                  พระบาท ใชกับเจานายชั้นผูนอย เชน ระดับหมอมเจา

                          บุรุษที่ 3   (ผูพูดถึง)   ทั้งหญิงและชายใชวา พระองค พระองคทาน
                       3.  คํากริยาราชาศัพท  คํากริยาราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตรยและเจานายสวนใหญมักจะใช

               ตรงกันมีหลักในการแตง ดังนี้

                         3.1 คํากริยาที่เปนราชาศัพทโดยเฉพาะ เชน โปรด ประทับ ประชวน ประสูติ กริ้ว ดํารัส เสด็จ
               บรรทม ฯลฯ คํากริยาเหลานี้ไมตองมีคําวา ทรงนําหนาและจะนําไปใชในภาษาธรรมดาไมไดดวย

                         3.2 คํากริยาที่ใชในภาษาธรรมดา เมื่อตองการแตงเปนกริยาราชาศัพทตองเติม ทรง ขางหนา
               เชน ทรงจาม ทรงขับรอง ทรงยินดี ทรงเลาเรียน ทรงศึกษา ทรงเลน ทรงสดับพระเทศนา ฯลฯ

                         3.3 คํานามที่ใชราชาศัพทบางคําที่ใชทรงนําหนา เชน ทรงพระกรุณา ทรงพระราชดําร ิ

               ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ
                         3.4 คํานามบางคํา เมื่อ ทรง นําหนาใชกริยาราชาศัพทไดตามความหมาย เชน ทรงเครื่อง

               (แตงตัว) ทรงเครื่องใหญ (ตัดผม) ทรงศีล ทรงธรรม ทรงบาตร ทรงเรือ ทรงกีฬา ทรงรถ ทรงดนตรี
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131